สมัครสมาชิกวันนี้

  • Silver
  • สมาชิกระดับ Silver
  • ฟรี
  • สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารขั้นพื้นฐานได้
  • ข้อมูลผู้ประกอบการต่างประเทศ
  • ข้อมูลสถิติในประเทศและต่างประเทศ
  • มาตรการทางการค้าระหว่างประเทศ
  • กฎ ระเบียบ นโยบายในประเทศ
  • เทคโนโลยี และงานวิจัย
  • สมัครสมาชิก
ข่าวสารยานยนต์
อ่านข่าวสารล่าสุด

ค้นหาข้อมูล

ความเคลื่อนไหวในอุตสาหกรรม

            Aptiv is securing a foothold for its self-driving technology in what may be the world's must lucrative autonomous-vehicle market.The supplier said Wednesday it has opened an Autonomous Mobility Center in China, and will soon deploy test vehicles on the roads in and around Shanghai.That's a precursor to eventual partnerships that could eventually yield an autonomous ride-hailing service that mirrors the one Aptiv currently runs in Las Vegas along with Lyft."Our first step is to get cars on the ground and start driving, and over time, our ambition is to go to market in China using the playbook we've established in Vegas," said Karl Iagnemma, president of Aptiv's autonomous mobility division. "We're developing the full-stack core technology, and we'll integrate it with the vehicle platform from a partner. You put those ingredients together, and it's a great market opportunity."That may be underselling it. China has the potential to become the largest global market for automated-driving technology, according to a report issued by McKinsey in January. By 2040, the consulting firm estimates AVs could account for 66 percent of all the passenger miles traveled in China, generate $1.1 trillion in mobility services and $900 billion from automated-vehicle sales.The Chinese government has sought to accelerate the arrival of autonomous, electric and connected vehicles, and its ability to mandate approaches from the highest levels has eased the regulatory path that's more clouded for manufacturers and tech developers in the United States and Europe. But China's government has traditionally been protective of its own domestic companies."You'd think they'd say that 'We have Baidu and Pony and a few others, and we don't need anyone else in here,'" said Michael Dunne, CEO and founder of ZoZo Go, a consulting firm that advises automotive companies on China's business market. "It seems to be the case that they're under pressure from the Trump administration, and they're opening up a little bit with the likes of Waymo and Aptiv."

 

AV testing

Overall, China has issued 101 license plates for autonomous vehicles owned and operated by 32 different companies, according to records released by the government in February. Baidu holds at least 45 of those licenses. The company has only disclosed the number of AVs it operates in Beijing, but not the rest of the country. Daimler and Audi are among those with licenses to test in China."China has made no secret about its ambition to get in front on autonomy, and the play here would be electric, shared, and autonomous," Dunne said. "The environment is conducive to rapid growth."While the world eyes China, three of North America'a front-runners -- Waymo, Ford and GM's Cruise Automation -- do not yet hold testing permits in the country, though Baidu tests systems integrated into Ford vehicles as part of an AV-related partnership between the companies.

Delphi roots

Aptiv is the tech-minded company created when Delphi split in half in December 2017. Through those roots, the company has held a manufacturing and engineering presence in China since 1993. That will provide a base for the burgeoning autonomous operations.The company says its test cars will be on the road in a matter of weeks. But no long-term partnerships have been announced with ride-hailing networks, vehicle manufacturers, or companies that make high-definition maps for use in self-driving systems.Iagnemma said the company is in active discussions with potential collaborators.This is the fifth test location for Aptiv. Shanghai joins Boston, Pittsburgh, Las Vegas and Singapore on the list of places where the company is testing Level 4 automated technology, which requires no interaction or oversight from a human while operating in a geofenced environment.While maintaining operations in multiple cities can be an expensive proposition, there's potential risk in concentrating efforts on one or two cities, Iagnemma said."You face more challenges if you move on from one city," he said. "You have very different driving patterns from city to city, so in a way, we're de-risking by continuing to develop in a variety of cities and environments."

Aptiv ตั้งมั่นมพัฒนาเทคโนโลยีรถยนต์อัตโนมัติในประเทศจีนซึ่งเป็นตลาดรถยนต์อัตโนมัติที่มีศักยภาพที่สุดในโลก

          Aptiv ได้เปิดศูนย์ Autonomous Mobility Center ในประเทศจีน เพื่อทดสอบรถยนต์อัตโนมัติในระดับที่ 4 บนถนนของเมืองเซี่ยงไฮ้ในอนาคต ซึ่งอาจจะทำให้เกิดบริการ Autonomous ride-hailing ที่คล้ายกับที่ Aptiv ดำเนินการอยู่ร่วมกับ Lyft ที่ ลาสเวกัส สหรัฐอเมริกา ซึ่งจากรายงานของ McKinsey กล่าวไว้ว่า ยานยนต์อัตโนมัติจะเป็นส่วนสำคัญของการเดินทางของประชาชนในประเทศจีนถึงร้อยละ 66 ของระยะการเดินทางทั้งหมด ในปี ค.ศ. 2040 ซึ่งจะสร้างรายได้ว่า 2 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ โดย 1.1 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ มาจากธุรกิจบริการ และ 900,000 ล้านเหรียญ จากการจำหน่ายรถยนต์อัตโนมัติ

 

ที่มา: Automotive News Europe ประจำวันที่ 17 เมษายน 2562

             ในงานมหกรรมสมาร์ทโฟนระดับโลก ระดับโลก 2019 จัดขึ้นที่เมืองบาร์เซโลนา ประเทศสเปน คอนติเนนทอล ผู้พัฒนาเทคโนโลยีอัจฉริยะสำหรับผู้ใช้ยานยนต์ ได้จัดแสดงเทคโนโลยีและนวัตกรรมต่างๆ ที่น่าสนใจไม่ว่าจะเป็นระบบเชื่อมต่อยานพาหนะ โมดูลเสาอากาศอัจฉริยะรุ่น 2.0 และระบบเซิร์ฟเวอร์ในยานยนต์ ซึ่งเป็นโซลูชันสำหรับเมืองอัจฉริยะในอนาคต เฮลมุท มาร์สซิ กรรมการบริหารของคอนติเนนทอลและหัวหน้ากลุ่มธุรกิจอุปกกรณ์ภายในรถยนต์ เปิดเผยว่าระบบเชื่อมต่ออัจฉริยะที่ไม่ได้เป็นเพียงแค่ธีมสำหรับงาน MWC ในปีนี้ แต่ยังเป็นโซลูชั่นขอคอนติเนนทอลในที่มุ่งมั่นเน้นให้ระบบขับขี่แห่งอนาคตมีความปลอดภัย ความสะดวกสบายและความอัจฉริยะ เราพัฒนาโซลูชั่นจากความต้องการของผู้ใช้งานที่ต้องการระบบขับขี่อัจฉริยะโดยในงาน MWC ครั้งนี้ เราได้นำเสนอเทคโนโลยีและนวัตกรรมสำหรับระบบการเชื่อมต่อยานยนต์ ระบบชอฟต์แวย์ และระบบประมวลผลที่มีประสิทธิภาพสูงโดยมุ่งเน้นไปที่ประโยชน์ของผู้ใช้ ภายในงานคอนติเนนทอลได้นำเสนอโมดูลเสาอากาศอัจฉริยะรุ่นล่าสุด ที่มีการออกแบบให้มีลักษณะเรียนแบนเป็นพิเศษด้วยแนวคิดการประหยัดพื้นที่ในการติดตั้งบนหลังคายานยนต์ ซึ่งศักยภาพของการพัฒนาโมดูลเสาอากาศรุ่นล่าสุดนี้สามารถใช้ได้กับเทคโนโลยีระบบการสื่อสารแบบไร้สาย 5G และเทคโนโลยีรองรับสำหรับเสาสัญญาณรับส่งคลื่น 4x4 MIMO หรือเรียกว่า Multiple Input Mutiple Output ทำให้สามารถถ่ายโอนข้อมูลในเวลาเดียวกันผ่านเครื่องส่งสัญญาณและตัวรับสัญญาณได้หลากหลายช่องซึ่งหมายความว่าสามารถส่งข้อมูลได้ปริมาณมากขึ้นด้วยอัตราความเร็วสูงสุดผ่านทางเทคโนโลยีอุปกรณ์ไร้สาย นอกจากนี้อิเล็กทรอบิท (บริษัทในเครื่องคอนติเนนทอล) จำนำเสนอแพลตฟอร์มสำหรับติดตั้งชอฟต์แวร์ของห้องโดยสาร ซึ่งมีตัวควบคุมระบบการทำงานที่สามารถรวบรวมข้อมูลการขับขี่ที่เป็นประโยชน์ผนวกเข้ากับแอปพลิเคชั่นแสดงข้อมูลและคววามบันเทิงภายในยานยนต์ ทำให้มั่นใจว่าหน้าจอแสดงผลแอปพลิเคชั่นนั้นเชื่อมต่อกับสื่อมัลติมิเดียจำพวกข้อความ ข้อมูลแสดงกราฟสถิติ ภาพ และเสียงต่างๆ โซลูชั่นนี้เหมาะสมอย่างมากสำหรับธุรกิจรถเช่า เนื่องด้วยผู้โดยสารสามารถปรับแต่งการใช้งานของซอฟต์แวร์ได้ตามต้องการ

ที่มา : หนังสือพิมพ์ ไทยโพสต์ ฉบับวันที่ 17 เมษายน 2562

                 บริษัท เอสเอไอซี มอเตอร์-ซีพี จำกัด และ บริษัท เอ็มจี เซลล์ (ประเทศไทย) จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่ายรถยนต์เอ็มจีในประเทศไทย ยืดเวทีงานบางกอก อินเตอร์เนชั่นแนล มอเตอร์โชว์ 2019 เปิดตัว NEW MG V80 รถ Passenger Van 11 ที่นั่ง เติมเต็มเซ็กเมนท์ (Segment) ของรถยนต์ภายใต้แบรนด์เอ็มจี รองรับกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการรถยนต์ขนาดใหญ่เพื่อการเดินทางกับครอบครัวหรือหมู่คณะ กับราคาพิเศษช่วงเปิดตัว พร้อมโชว์สุดยอดยนตรกรรม “รถต้นแบบ MG ZS EV” รถยนต์พลังงานไฟฟ้ารุ่นแรกของเอ็มจีที่สะท้อนแนวทางการพัฒนารถยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วยพลังงานทางเลือก (NEW Energy) ตามวิสัยทัศน์หลักขององค์กร พร้อมนำเสนอโปรโมชั่นและข้อเสนอสุดพิเศษในงานฯ ปีนี้ถือเป็นปีที่ 5 ที่เอ็มจีเข้ามาแนะนำแบรนด์และทำตลาดในประเทศไทย ในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาเราได้นำเสนอยนตรกรรมที่มาพร้อมคุณภาพ และโดดเด่นด้วยเทคโนโลยีที่ล้ำสมัยเพื่อสร้างจุดเปลี่ยนให้กับวงการยานยนต์ไทย โดยที่ผ่านมาเราได้รับการตอบรับที่ดีเยี่ยม ประสบความสำเร็จเหนือความคาดหมายด้วยยอดขายรวมในประเทศกว่า 50,000 คัน ในระยะเวลาไม่ถึง 5 ปี และพร้อมเดินหน้าสร้างสรรค์และนำเสนอรถยนต์คุณภาพเพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคอย่างต่อเนื่อง รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท เอ็มจี เซลล์ (ประเทศไทย) จำกัด ระบุ

ที่มา : หนังสือพิมพ์ ดอกเบี้ยธุรกิจ ฉบับวันที่ 10 เมษายน 2562

                 EA กระแสแรง! ยอดจองซื้อรถยนต์ไฟฟ้า “MINE Mobility” ในงานมอเตอร์โชว์พุ่งทะลุ 1 พันคัน ตันยอดจองรถยนต์ไฟฟ้ารวม 4,585 คัน แย้มผลงาน Q1 สวย เหตุบุ๊กวินด์ฟาร์มหนุมาน 180 MW จ่อ COD เพิ่มอีก 80 MW หลังสงกรานต์ นายอมร ทรัพย์ทวีกุล รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัทพลังงานบริสุทธิ์ จำกัด (มหาชน) หรือ EA เปิดเผยถึงการจัดงานมอเตอร์โชว์ ครั้งที่ 40 (Bangkok International Motor Show 2019) ระหว่างวันที่ 27 มีนาคม – 7 เมษายน 2562 ที่ผ่านมา บริษัทมียอดลงทะเบียนจองสิทธิซื้อรถยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicle หรือ EV) ภายใต้แบรนด์ MINE Mobility เข้ามาอย่างต่อเนื่องประมาณ 70-80 คันต่อวัน ทำให้รวมตลอดระยะเวลาการจัดงานมียอดจองรวมประมาณ 1,085 คัน ซึ่งดีกว่าที่คาดการณ์ไว้ที่มียอดจองรวมประมาณ 1,000 คัน เนื่องจากมีผู้บริโภคให้ความสนใจมากขึ้น หลังจากมีการชมรถยนต์ตัวอย่างภายในงานดังกล่าว ทั้งนี้เมื่อรวมกับก่อนหน้านี้ในจำนวนมากถึง 3,500 คัน ส่งผลให้ล่าสุดบริษัทมียอดจองรถยนต์ไฟฟ้าแล้วประมาณ 4,585 คัน โดยใกล้เป้าหมายปีนี้ที่คาดว่าจะมียอดจองรถยนต์ไฟฟ้าแตะระดับ 5,000 คันแล้ว ขณะที่ธุรกิจพลังงานทดแทน ในเบื้องต้นคาดว่าจะมการจ่ายไฟฟ้าเข้าสู่ระบบเชิงพานิชย์ (COD) ของโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลมหนุมานส่วนที่เหลือ (โครงการหนุมาน 10 ) อีก 80 เมกะวัตต์ (MW) ได้ช่วงหลังสงกรานต์ จะส่งผลให้สามารถ COD ได้ครบ 260 เมกะวัตต์จากก่อนหน้านี้ได้ทยอย COD ไปแล้ว 180 เมกะวัตต์ ทำให้ในช่วงไตรมาส 1/2562 มีขนาดกำลังการผลิตรวม 584 เมกะวัตต์ ดังนั้น บริษัทมั่นใจผผลการดำเนินงานในช่วงไตรมาส 1/2562 จะมีทิศทางการเติบโตที่ดีกว่าเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2561 และในช่วงไตรมาส 4/2562 จากการ COD โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลมหนุมานเข้ามาเพิ่มเติม ขณะที่ภาพรวมผลการดำเนินการรวมปี 2562 จะเติบโตได้ดีกว่าหรือเติบโตในระดับใกล้เคียงกับปี 2561 จากการรับรู้รายได้ที่เพิ่มขึ้นจากโครงการโรงไฟฟ้าต่างๆ ด้วยกำลังการผลิตติดตั้ง่รวม 664 เมกะวัตต์

ที่มา : หนังสือพิมพ์ ข่าวหุ้น ฉบับวันที่ 9 เมษายน 2562

                 ค่ายรถยนต์สะดุ้ง มาตรฐานไอเสียเป็นรถยูโร 6 ปี 2565 จี้รัฐทบทวน พร้อมเข้มงวดรถเก่า 20 ล้านดันปล่อยมลพิษสูง จ่ายภาษีรายปีแพงขึ้น กำหนดอายุการใช้งาน หนุนคนซื้อรถใหม่ วิกฤติฝุ่นพิษ PM 2.5 กลายเป็นภาระแห่งชาติกระทรวงอุตสาหกรรมเร่งรัดบริษัทผู้ผลิตรถยนต์ ต้องขายรถที่ผ่านมาตรฐานไอเสียระดับยูโร 5 ตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นไป และขยับเป็นยูโร 6 ในปี 2565 ทันที ซึ่งประเด็นนี้ค่ายรถยนต์สะท้อนความเห็นผ่านสมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยว่าเร็วเกินไป ที่สำคัญการขยับมาตรฐานไอเสียขึ้นไปแต่ละขั้นมีต้นทุนเพิ่ม 3-5 หมื่นบาทต่อคัน นายองอาจ พงศ์กิจวรสิน นายกสมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย เปิดเผยว่า บริษัทผู้ผลิตรถยนต์พร้อมทำตามนโยบายของรัฐบาลของรัฐบาล แต่การแก้ปัญหามลพิษไม่ควรมุ่งไปที่รถยนต์ใหม่ที่มีข้อบังคับด้านไอเสียเข้มงวดเพียงอย่างเดียวควรเร่งรัดการผลิตน้ำมันยูโร 5 ออกมาใช้ให้แพร่หลายด้วย เพราะทั้งรถเก่าและรถที่ขายอยู่ปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นมาตรฐานไอเสียระดับไหน ใช้แล้วจะลดมลพิษได้ทันที “จากยอดมลพิษทะเบียนรถยนต์สะสม 20 ล้านคัน (กรมขนส่งทางบก) ส่วนใหญ่เป็นรถมาตรฐานไอเสียยูโร 1,2,3,4 หลายคันอายุการใช้งานเป็ฯสิบๆปี ขาดการบำรุงรักษาที่ดีและปล่อยมลพิษสูง ถ้าเติมน้ำมันระดับยูโร 5 เข้าไปจะช่วยลดไอเสียได้.

ที่มา : หนังสือพิมพ์ ฐานเศรษฐกิจ ฉบับวันที่ 9 เมษายน 2562

                    กลุ่มบริษัท โฟล์คสวาเกน ได้มีการลงนามบันทึกข้อตกลงกับบริษัทผลิตแบตเตอรี่ลิเธียมของประเทศจีนอย่าง Ganfeng Lithium Co.,Ltd  ซึ่งบริษัท Ganfeng Lithium มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ Xinyu ของมณฑลเจียงซีทางตะวันออกขอจีนและจดทะเบียนในฮ่องกงเป็นผู้จัดหาวัสดุลิเธียมรายใหญ่ที่สุดในประเทศจีน สามารถผลิตลิเธียมคาร์บอเนต 40,500 ตันลิเธียมไฮดรอกไซด์ 31,000 ตันและโลหะลิเธียม 1,600 ตันต่อปีตามเว็บไซต์ของบริษัท ทั้งนี้ค่ายรถยักษ์ใหญ่จากสัญชาติเยอรมันกล่าวว่าการย้ายโรงงานผลิตครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาความปลอดภัยของแบตเตอรี่ลิเธียมในระยะยาวสำหรับแบตเตอรี่ยานยนต์ไฟฟ้า และบริษัท โฟล์คสวาเกน จะมาเปิดตัวในประเทศจีน ซึ่งทั้งสองฝ่ายตกลงร่วมมือกันในการรีไซเคิลแบตเตอรี่และการพัฒนาแบตเตอรี่ด้วยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ ทางบริษัทมีการวางแผนที่จะขยายกลุ่มยานยนต์ไฟฟ้าที่ผลิตในประเทศจีนในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า ขณะนี้ทางบริษัทจะเริ่มมีการจำหน่ายแบตเตอรี่รุ่น Golf,Bora และ Lavida ในประเทศจีนช่วงกลางปีนี้ นอกจากนี้ทางบริษัทยังวางแผนที่จะเปิดตัวการจำหน่ายรถยนต์ไฟฟ้า MEB ในปี 2563 ที่ประเทศจีนอีกด้วย บริษัท โฟล์คสวาเกน เป็นผู้ผลิตรายใหญ่ที่สุดในประเทจีน ในปี 2561 มีการนำเข้ารถยนต์สัญชาติเยอรมันจำนวนกว่า 4.21 ล้านคันภายใต้แบรนด์ต่างๆในตลาดเพิ่มขึ้น 0.5% เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว

                  VW signs up Chinese lithium supplier

              Volkswagen Group has signed a memorandum of understanding with Chinese lithium producer Ganfeng Lithium Co. The move is intended to secure long-term lithium supplies for the battery-electric vehicles VW will roll out in China, the German auto giant said. The two sides have also agreed to cooperate in battery recycling and solid-state battery development, VW added.VW plans to expand its lineup of locally produced electric vehicles in China over the next few years. VW brand alone will begin selling battery versions of the Golf, Bora and Lavida compact sedans in China in the middle of this year. The brand also plans to launch sales of vehicles based on its MEB electric vehicle platform in China in 2020.VW is the largest carmaker in China. In 2018, the German group delivered 4.21 million new vehicles under its various brands in the market, edging up 0.5 percent year on year.Ganfeng Lithium, headquartered in Xinyu of east China’s Jiangxi province and listed in Hong Kong, is China’s largest lithium material supplier. It can produce 40,500 tons of lithium carbonate, 31,000 tons of lithium hydroxide and 1,600 tons of lithium metals a year, according to its website.

ที่มา : Automotive News China ฉบับวันที่ 5 เมษายน 2562

       Toyota มีแผนที่เสนอให้องค์กรอื่นเข้าถึงสิทธิบัตรเทคโนโลยีไฮบริดได้ฟรีในปี ค.ศ. 2030 เพื่อเป็นการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีที่มีการปลอดปล่อยมลพิษต่ำ และก้าวผ่านความท้ายทายของการใช้งานยานยนต์ไฟฟ้า โดยสิทธิบัติที่จะเปิดเผยนั้นมีจำนวนมากกว่า 24,000 สิทธิบัตร โดยเป็นเทคโนโลยีที่ใช้งานในรถยนต์ Toyota Prius

       มร. ชิเกกิ เทราชิ รองประธานกรรมการบริหาร บริษัท Toyota กล่าวว่า “Toyota ต้องการก้าวข้ามเพียงแค่การผลิตรถยนต์เท่านั้น แต่ต้องการเป็นส่วนหนึ่งในการส่งเสริมให้เกิดการใช้งานรถยนต์ไฟฟ้ามากยิ่งขึ้น ผ่านการสนับสนุนทางด้าน เทคโนโลยี และชิ้นส่วนที่ ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สู่ผู้ผลิตรถยนต์รายอื่น”

       Toyota will offer free access to its hybrid-vehicle patents through 2030 as it seeks to expand use of the lower-emission technology, the automaker said in a statement.The pledge by the company to share its closely guarded patents is aimed at driving industry uptake of hybrids and fending off the challenge of full-electric vehicles.Toyota said it would grant licenses on nearly 24,000 patents on technologies used in its Prius, and offer to supply competitors with components including motors, power converters and batteries used in its lower-emissions vehicles."We want to look beyond producing finished vehicles," Toyota Executive Vice President Shigeki Terashi told reporters."We want to contribute to an increase in take up (of electric cars) by offering not just our technology but our existing parts and systems to other vehicle makers."The Nikkei Asian Review first reported Toyota's plans to give royalty-free access to hybrid-vehicle patents.Terashi said that the access excluded patents on its lithium-ion battery technology.

Unlocking key technology

            Toyota's move to unlock its patents underlines its belief that hybrids are an effective alternative to all-battery EVs, given a fuel efficiency roughly double that of gasoline cars, lower cost and that they do not need charging infrastructure.Toyota vehicles account for more than 80 percent of the global hybrid vehicle market."Toyota has realized that they made a mistake by protecting their hybrid technology for years. This prevented diffusion" said Janet Lewis, head of Asia transportation research at Macquarie Securities."Toyota on its own can't get key technology accepted, but if other companies use it, that offers the best chance of expansion," she added.Since pioneering the Prius in 1997, Toyota has sold more than 13 million hybrids, which twin a conventional gasoline engine and electric motor, saving fuel by capturing energy during coasting and breaking and using it to power the motor.Hybrid vehicles account for around 3 percent of all vehicles sold globally, eclipsing the roughly 1.5 percent share of all-battery EVs, according to LMC Automotive.Global automakers have pledged to electrify their offerings as a growing number of countries slash vehicle emissions by as much as half by 2030, but many say that shifting to fully electric cars will take time given high cost of batteries.Lewis at Macquarie said automakers in China and Europe could be keen to access Toyota's hybrid-vehicle patents as they look for lower-emission cars to sell in lower-tier cities where costly battery EVs are out of reach for many drivers.Toyota is also betting on hydrogen fuel cell vehicles (FCVs) as the ultimate zero-emissions vehicle, and as a result, has lagged many of its rivals in marketing all-battery EVs.In 2015, the automaker said it would allow access to its FCV-related patents through 2020.

 

        BMW และ Microsoft มีความร่วมมือกันในการพัฒนาแพลตฟอร์มการผลิตที่จะช่วยกระตุ้นให้เกิดนวัตกรรมและเร่งให้เกิดการพัฒนาโรงงานอัจฉริยะ (Smart Factories) ซึ่งก่อนหน้านี้ Volkswagen Group และ Amazon Web Services มีการประกาศความร่วมมือในการพัฒนาเพื่อเชื่อมโยงโรงงานทั้ง 122 แห่งของ Volkswagen Group ให้มีการพัฒนาระบบการผลิตให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

 

          ความร่วมมือของ BMW และ Microsoft จะเป็นการพัฒนาฐานข้อมูลเพื่อจัดการข้อมูลที่มากมายที่เชื่อมโยงกันของ Robot และ Sensor ต่างๆ เพื่อให้เป็น Internet of Thing (IoT) โดยโรงงานของ BMW จะเปลี่ยนเป็นการผลิตแบบดิจิตอลที่มีประสิทธิภาพสูง ซึ่งจะส่งผลรวมถึงการมีโอกาสการทำงานร่วมกันทั้งห่วงโซ่มูลค่า และรูปแบบนี้จะเป็นแพลตฟอร์มมาตรฐานที่จะสามารถนำไปใช้ประยุกต์ใช้งานกับสถานประกอบการอื่นได้อีกด้วย

ที่มา : AUTONEWS EUROPE

               Indoniesia Trade Minister Airlangga Hartarto said his ministry has set a target to increase car export to 450,000 this year.In the previous year,the coun try saw exports of 346,000 cars with US$4.78 billion (Bt 152 billion) in profit. According to the Association of Indonesian Automotive Manufacturers,the export of completely built in 2018 was 264,553 cars, a 14.4 per cent increase from the export number in 2017 while the export of completely knockeddown cars grew 6.6 per cent to 86.6 million Airlangga said Indonesia’s automotive products were able to compete in the international market due to the increasing use of local contect following the issuance of regulation on local content requirements. – The Jakarta Post.

ที่มา : หนังสือพิมพ์ The Nation  ฉบับวันที่ 5 เมษายน 2562

ศูนย์สารสนเทศยานยนต์

ติดต่อ ศูนย์สารสนเทศยานยนต์ สถาบันยานยนต์

อาคารสำนักพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา (สพข.) ซ.ตรีมิตร กล้วยน้ำไท ถ.พระรามที่ 4 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110
โทรศัพท์: 0-2712-2414 ต่อ 6443
email : aiu@thaiauto.or.th