The China Association of Automobile Manufacturers, a government-backed industry trade group, called on domestic provinces that haven’t adopted State 6 vehicle emission standards not to enact the new rules ahead of schedule. Widespread adoption of the new standards, equivalent to Euro 6 rules, in China would make more consumers reluctant to buy new vehicles and aggravate inventory pressure on car dealers, the association warned in an open letter last week. Taking their cue from the Blue Sky Protection campaign Beijing launched last year, four municipalities – Beijing, Shanghai, Tianjin and Chongqing -- and 11 provinces in China have pledged to enact the new standards on July 1, one year ahead of the original schedule set by the Ministry of Environment Protection. The four cities and provinces accounted for 65 percent of China's new light-vehicle sales in 2018.Upgrading the emissions standards to State 6 from State 5, which are similar to Euro 5, has been a major cause of the prolonged downturn in China’s new-car market in the past few months, according to the association
German prosecutors are investigating the chairman of Volkswagen's powerful works council, Bernd Osterloh, as part of an inquiry into whether some of its members were paid excessively, turning him from a witness into a suspect.Osterloh is being investigated over an allegation that he contributed to the "conclusion of the remuneration agreement that is suspected of being unlawful," said a spokesman for the public prosecutor's office in Braunschweig in VW's home state of Lower Saxony on Tuesday.Osterloh has not yet been questioned and has requested, via his lawyer, access to relevant files and will respond to any allegations, a spokesman for the Volkswagen works council said, adding that its chairman was "beyond reproach."Prosecutors have been investigating four people since 2016 on suspicion of preferential treatment of works council members and, on the basis of those investigations, prosecutors decided to investigate Osterloh, who had previously been a witness.Osterloh is a member of VW supervisory board.Volkswagen said in November 2017 it had obeyed the law in its payment of Osterloh, a day after prosecutors and tax authorities raided the offices of several senior executives at the carmaker in an inquiry into whether he had been overpaid.A newspaper reported in May that prosecutors were investigating the chief executive of Volkswagen's Porsche business, Oliver Blume, over a possible breach of fiduciary trust linked to payments made to a Porsche works council member.
Ford Motor Co. is set to start selling its first electric vehicle in China in the second half of the year.The EV is the battery-powered version of the Ford Territory compact crossover. It has a range of 360 kilometers (224 miles) on one charge, Ford said. The Territory last year became the first Ford-badged passenger vehicle produced at Jiangling Motors Corp. -- Ford’s truck venture with Changan Automobile Co. Like the gasoline variant, the electric Territory will also be assembled at Jiangling Motors, rather than Changan Ford Automobile Co. -- Ford’s car partnership with Changan. The electric Territory is the first electrified vehicle to be launched under the product plan for China that Ford disclosed in April. The Dearborn, Mich., company will introduce more than 30 new and upgraded vehicles including 10 electrified vehicles under the Ford and Lincoln brands in China over the next three years. Ford currently markets only one electrified vehicle -- the plug-in hybrid version of the Ford Mondeo – in China. In addition, an agreement Ford signed with Zoyte Automobile Co. in 2017 to jointly build inexpensive EVs hasn’t been approved by China regulators.Beijing enacted a carbon credit program this year, adding pressure on Ford to accelerate the rollout of electrified vehicles in the Chinese market.
กรมวาการเกษตรจับมือออสเตรเลีย ยักษ์ใหญ่ส่งออกรถยนต์ของไทย 8 ค่าย จัดอบรมระบตรวจสอบวัชพืชที่ปนเปื้อนในรถยนต์ใหม่ก่อนส่งออกไปออสเตรเลีย นางสาวเสริมสุข สลักเพ็ชร์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร เปิดเผยว่า ได้จัดประชุม “Motor Vehicle Inspection Program Information Session” ขึ้น เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับเงื่อนไขและบันทึกข้อตกลงในโครงการตรวจสอบวัชพืชในรถยนต์ใหม่เพื่อการส่งออกไปออสเตรเลีย (Motor Vehicle Inspection Program หรือ MVIP) โดยมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและบริษัทผู้ส่งออกรถยนต์ของไทยที่ส่งออกรถยนต์ใหม่ไปยังออสเตรเลีย 8 ราย คือ 1. มิซูบิชิ มอเตอร์ส ประเทศไทย 2. ซูซูกิ มอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด 3. บริษัทโตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด 5. บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จำกัด 6. บริษัท ฟอร์ด มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด 7. บริษัท นิสสัน มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด และ 8. บริษัท ออโต้ อัลลายแอนซ์ (ประเทศไทย) จำกัด เข้าร่วมอบรม โดยออสเตรเลียเป็นตลาดส่งออกอันดับ 1 โดยปี 2561 มีมูลค่าส่งออกกว่า 196,135 ล้านบาท “ออสเตรเลียเป็นประเทศที่มีภูมิประเทศเป็นเกาะ จึงมีมาตรการด้านความปลอดภัยทางชีวภาพที่เข้มงวด โดยหนึ่งในมาตรการสำคัญทางการค้าคือกำหนดให้รถยนต์ใหม่ท่จะส่งออกไปยังออสเตรเลียจะต้องสะอาดไม่มีสิ่งปนเปื้อน”
ที่มา : หนังสือพิมพ์ กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 14 มิถุนายน 2562
นายธีร์ เพิ่มพงศ์พันธ์ รองประธานบริหารฝ่ายการตลาดและรัฐกิจสัมพันธ์ บริษัท มาสด้า เซลส์ (ประเทศไทย) จำกัด เปิดเผยว่า มาสด้าจัดแคมเปญพิเศษเพียง 9 วันต้อนรับฤดูฝนกับมาสด้าแทกทีม (MAZDA TAG TEAM) ระหว่างวันที่ 8-16 มิถุนายน 2562 ด้วยอัตราดอกเบี้ยต่ำสุด 0% พร้อมรับฟรีประกันภัยชั้น 1 มาสด้า พรีเมียม อินชัวรันช์ (MAZDA Premium Insurance) 1 ปี ทุกรุ่น ขยายการรับประกันคุณภาพรถยนต์นานสูงสุดถึง 5 ปี หรือ 150,000 กิโลเมตร โดยเฉพาะรถอเนกประสงค์เอสยูวี มาสด้า CX-5 และรถสปอร์ตโรสเตอร์มาสด้า MX-5 พร้อมรับกระเป๋าเดินทาง มูลค่า 3,500 บาท เมื่อจองซื้อรถตั้งแต่ 5,000 บาทขึ้นไป และออกรถภายในเดือนมิถุนายนนี้ หรือสอบถามรายละเอียดแคมเปญ และทดสอบขับได้ที่โชว์รูมมาสด้าทั่วประเทศ นายธีร์กล่าวว่า รายนะเอียดแคมเปญมาสด้า 2 ดอกเบี้ย 1.99% ฟรีประกันภัยชั้น 1 และมาสด้า แคร์ โปรแกรม 3 ปี หรือระยะทาง 60,000 กิโลเมตร มาสด้า พรีเมี่ยม อินชัวรันช์ 1 ปี มาสด้า CX-3 ดอกเบี้ย 0.99% ฟรีประกันภัยชั้นหนึ่ง มาสด้า พรีเมียมอินชัวรันช์ 1 ปี และโปรแกรมขยายรับประกันคุณภาพรถยนต์สูงสุด 5 ปี หรือ 150,000 กิโลเมตร สำหรับรุ่น 2.0 SP และ 2.2 XDL มาสด้า BT-50 โปร ดอกเบี้ย 0% พร้อมฟรีประกันภัยชั้นหนึ่ง มาสด้าพรีเมียม อินชัวรันช์ 1 ปี และโปรแกรมขยายรับประกันคุณภาพรถยนต์สูงสุด 5 ปี หรือ 150,000 กิโลเมตร
ที่มา : หนังสือพิมพ์ มติชน ฉบับวันที่ 13 มิถุนายน 2562สิ้นสุดลงไปแล้วสำหรับทริปทดสอบความประหยัดน้ำมันของบริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส์ ในกิจกรรม “อีซูซุ แมคซ์ แซลเลนจ์ กับ บอย ปกรณ์ เส้นทางจากเซี่ยงไฮ้-ฉางชา สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียกได้ว่าเป็นกิจกรรมท้าทายครั้งยิ่งใหญ่ครั้งแรกของพระเอกหนุ่มบอย ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ กับการขับจริงเพื่อตอกย้ำความเชื่อมั่น “รถอีซูซุใครๆ ขับก็ประหยัด” ในฐานะซูเปอร์พรีเซ็นเตอร์ของอีซูซุ เป็นเวลา 3 วัน ตั้งแต่วันที่ 31 พฤษภาคม 2562 โดยเริ่มการเดินทางที่เซียงไฮ้ (Shanghai) – ฉางชา (Changsha) เป็นระยะทาง 495 กม. .ในวันที่ 1 มิถุนายน 2562 จากฉางชา (Changsha) – อี้ซุน (Yichun) ระยะทาง 505 กม. และในวันที่ 2 มิถุนายน 2562 จากอี้ซุน (Yichun) - ฉางชา (Changsha) ระยะทาง 212 กม. รวมระยะทางทั้งสิ้น 1,212 กม. ในครั้งนี้ “ประชาชาติธุรกิจ” ได้มีโอกาสได้ไปร่วมเป็นสักขีพยานเปิดประสบการณ์การเดินทางเพื่อพิสูจน์อัตราการประหยัดน้ำมันของรถอีซูซุและได้ร่วมกิจกรรมทายผลระยะทางที่ใช้น้ำมันต่อลิตรร่วมกับประชาชนทั่วไป โดยรถอีซูซุที่บอย-ปกรณ์ขับคือ รถปิกอัพ “อีซูซุ ดีแมคซ์ 1.9 ดีดีไอ บลูเพาเวอร์” เกียร์ธรรมดา ซึ่งเป็นมาตรฐานของโรงงาน มีภัทร์ ฉัตรบริรักษ์ น้องชายเป็นเนวิเกเตอร์นำทาง ขับด้วยความเร็วเฉลี่ย 70-90 กม./ชม. เปิดแอร์ตลอดเส้นทางโดยใช้น้ำมันเพียงถังเดียว และมีคณาจารย์จากคณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมเดินทางเพื่อเป็นกรรมการสักขีพยานอย่างใกล้ชิดตลอดเส้นทาง โดย บอย-ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ เล่าว่ากิจกรรมในครั้งนี้เป็นการขับขี่รถที่ใช้เวลาและมีระยะทางยาวที่สุดตั้งแต่เคยขับมาความยากอย่างแรกคือ รถที่ใช้ขับในประเทศจีนขับฝั่งซ้ายแตกต่างจากรถในประเทศไทยที่ขับฝั่งขวา ต้องใช้สติและศึกษาเรียนรู้พฤติกรรมการขับของผู้คนในประเทศจีนด้วย และรถที่ใช้ขับค่อนข้างดึงดูดสายตาผู้คนเพราะมีความโดดเด่นแปลกตาต้องคอยระวังรถคันอื่นด้วย เพราะบางครั้งมีรถเบียดเข้ามาใกล้มาก ด้านโทชิอากิ มาเอคาวะ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส์ จำกัด กล่าวว่า การจัดกิจกรรมครั้งนี้ อีซูซุ ได้เชิญชวนผู้สนใจเข้าร่วมทายผลอัตราการประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิงโดยเฉลี่ยที่บอย-ปกรณ์ สามารถทำได้ เพื่อชิงทองคำมูลค่า 1 ล้านบาท จำนวน 1 รางวัล ซึ่งมีผู้สนใจเข้าร่วมทายผลเข้ามาเป็นจำนวนมากผ่านเว็บไซต์ และตัวเลขก็ออกมาอยู่ที่ 24.99 กม./ลิตร
ที่มา : หนังสือพิมพ์ ประชาชาติธุรกิจ ฉบับวันที่ 13 มิถุนายน 2562
บริษัท เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จำกัด เปิดตัวรถยนต์ปลั๊กอินไฮบริดหรืออีคิว เพาเวอร์ (EQ Power) เจเนอเรชั่นที่ 3 ภายใต้แบรนด์ EQ อย่าง เมอร์เซเดส-เบนซ์ ซี 300 อี (Mercedes-Benz C 300 e) ยนตกรรมชาลูนสุดหรูอัจฉริยะรุ่นประกอบในประเทศสร้างมาตรฐานครั้งใหม่ให้กับรถยนต์ในเซ็กเมนต์นี้ ผสมผสานขุมพลังปลั๊กอินไฮบริด และเทคโนโลยีอันล้ำสมัย โดยนำเสนอในสองรุ่นย่อยได้แก่ The C 300 e เอเอ็มจี ไดนามิก (AMG Dynamic) ราคา 3,215,000 บาท และ The C 300 e อวังการ์ด (Avantgarde) ราคา 2,699,000 บาท มร.โรลันด์ โฟลเกอร์ ประธานบริหาร บริษัท เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวว่า ปัจจุบัน เมอร์เซเดส-เบนซ์นำเสนอเทคโนโลยีภายใต้แบรนด์ EQ ทั้งหมด 3 กลุ่ม ได้แก่ 1. EQ เทคโนโลยีในรถยนต์ แบตเตอรี่ อิเล็กทริก วิฮิเคิลส์ ( Battery Electronic Vehicles) หรือบีอีวี (BEV) 2. อีคิว เพาเวอร์ (EQ Power) แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ เทคโนโลยีสำหรับรถยนต์ปลั๊กอินไฮบริดภายใต้แบรนด์เมอร์เซเดส-เบนซ์ (EQ Power) และเทคโนโลยีสำหรับรถยนต์ปลั๊กอินไฮบริดในการแข่งขันมอเตอร์สปอร์ต กลุ่มเมอร์เซเดส-เอเอ็มจี และรถยนต์สมถรรณะสูง (EQ Power+) และ 3. อีคิว บูสท์ (EQ Boost) เทคโนโลยี 48 โวลต์ ช่วยเพิ่มกำลังขับเคลื่อนให้กับรถยนต์ภายใต้แบรนด์เมอร์เซเดส-เบนซ์ และเมอร์เซเดส-เอเอ็มจี ฟรังค์ ชไตน์อัคเคอร์ รองประธานฝ่ายขายและการตลาดบริษัท เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวว่า C 300 e รุ่นประกอบในประเทศ เครื่องยนต์ปลั๊กอินไฮบริดผสานกับพลังจากมอเตอร์ไฟฟ้า ควบคู่กับประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้นของแบตเตอรี่ลิเธียม-ไอออน ชนิดใหม่ สามารถประจุไฟฟ้าได้มากกว่าเดิม ส่งผลให้ระยะทางสูงสุดสำหรับการขับขี่โดยใช้พลังงานไฟฟ้าอย่างเดียวเพิ่มขึ้นเจเนอร์เรชั่นก่อนหน้าถึง 30% และช่วยให้อัตราการประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิงในโหมดไฮบริดเพิ่มขึ้น ดีไซต์หรูหรา ผสานด้วยเทคโนโลยีล้ำสมัยเทียบเท่ารถยนต์ตระกูล เอส-คลาส มาพร้อมกับบริการ เมอร์เซเดส มี คอนเนคต์ (Mercedes me connect)
ที่มา : หนังสือพิมพ์ มติชน ฉบับวันที่ 12 มิถุนายน 2562
โตโยต้ารุกตลาดรถตู้ ส่งคอมมิวเตอร์ใหม่ เจาะลูกค้าองค์กร ขนส่งสาธารณะ ผนึกโตโยต้าลีสซิ่ง จัดแคมเปญกระตุ้น ดาวน์ 0% ผ่อนนาน 84 เดือน นายมิจิโนบุ ซึงาตะ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด เปิดเผยว่าโตโยต้าเปิดตัว รถตู้ คอมมิวเตอร์ใหม่ เจาะตลาดรถขนส่งสาธารณะ เน้นจุดขายห้องโดยสารกว้างขวาง และยังปรับช่วงง่าวใหม่ให้นุ่มนวลมากขึ้น ทั้งนี้โตโยต้าเปิดตัว คอมมิวเตอร์หนึ่งในรถตระกูลไฮเอชในตลาดประเทศไทยอย่างเป็นทางการครั้งแรกปี 2548 ในรูปแบบของรถยนต์นำเข้าสำเร็จรูปหรือซีบียู จากญี่ปุ่น พบว่าได้รับการตอบรับอย่างมากเพื่อนำไปใช้ในกิจการต่างๆ เช่น รถรับส่งพนักงานในนิคมอุตสาหกรรมรถรับ-ส่งผู้โดยสารระหว่างจังหวัดรถรับ-ส่ง สนามบิน และรถให้บริการนักท่องเที่ยวต่างชาติ เป็นต้น นอกจากนี้ก็ยังได้รับความสนใจจากลูกค้าทั่วไปที่นำรถไปใช้ในชีวิตประจำวันอีกด้วย สำหรับคอมมิวเตอร์ใหม่เป็นเจเนอเรชั่นที่ 6 ที่ออกแบบใหม่ทั้งหมดเป็นครั้งแรกในรอบ 15 ปี ใช้เครื่องยนต์ดีเซล จีดี 2.8 ลิตร ให้กำลังสูงสุด 163 แรงม้า ที่ 3,600 รอบ/นาที แรงบิดสูงสุด 420 นิวตัน-เมตรที่ 1,600-2,200 รอบ/นาที รองรับน้ำมันบี 20 มีให้เลือกทั้งเกียร์อัตโนมัติ 6 สปีด พร้อมระบบบซีเควนเซียล ชิฟท์ และเกียร์ธรรมดา 6 สปีด รองรับผู้โยสารร่วม 15 ที่นั่ง “คอมมิวเตอร์ถือเป็นรุ่นที่ได้รับความนิยมสูงสุดทั้งในไทยและในระดับโลก ในอดีตเรามักใช้รถกระบะดัดแปลงเพื่อการโดยสาร แต่ปัจจุบันรถตู้คอมมิวเตอร์นั้นกลายเป็นตัวเลือกที่ดี สำหรับผู้ที่ต้องการเดินทางด้วยความสะดวกสบายมากขึ้น นอกจากนี้ยังเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยสังคมในหลากหลายรูปแบบ เช่น รถขนส่งสาธารณะ รถโรงงเรียน รถพยาบาล และรถเพื่อผู้สูงอายุหรือผู้พิการ
ที่มา : หนังสือพิมพ์ กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 12 มิถุนายน 2562
Automakers and policymakers in Europe are staking their futures on a race to electric vehicles. But the vast charging network needed to sustain their vision is patchy, and it’s not clear who will pay for it.The central German city of Ruesselsheim, home to Opel, wants to build 1,300 electric car charging points by 2020, plans that would make it a front-runner on the Continent. It has advantages enjoyed by few in Europe, including a powerful local car industry player and wealthy national economy. In Germany itself the city has an edge, having won a government grant of 12.8 million euros ($14.4 million) to fund the roll out.Yet, even here, red tape, shortages of qualified staff and the requisite hardware are likely to delay the installation by around two years, local officials said.The project will also need more money, said the officials who are running up against the complexity of civil engineering, potential power grid overloads and unwieldy payment processes, illustrating some of the difficulties facing cities and nations across Europe."We are not doing this for profit," said Marianne Floersheimer, Ruesselsheim council's mobility chief. "But we cannot afford to top up the government money."
Charging infrastructure
The number of electric cars on German roads grew fivefold between 2015 and 2018, and have risen strongly across Europe. However the growth in electric cars is outpacing the charging infrastructure.The ratio of electric cars to each charging point in Europe deteriorated to 7.0 from 6.1 in the same period, consultants AlixPartners found, although Europe is still better equipped than the United States at 19.7 per car, and China's 7.6.Some analysts say a lag in infrastructure could drag on sales as customers hold off until electric becomes a convenient option.Any logjam could prove a problem for carmakers which, faced with emissions penalties, are pumping tens of billions of euros into electric technology in an industry-wide charge. German champion Volkswagen, for example, aims for electric vehicles to account for about a quarter of its sales by 2025.Obstacles to electrification could also strain the European Union’s plan to become "carbon neutral" by 2050 to combat climate change. A quarter of climate-harming emissions come from transport and, within that, most from passenger cars.However some campaigners, including Transport & Environment, a group that promotes clean transport, say good progress is being made in rolling out charging points in many countries of western and northern Europe, although central and eastern Europe are further behind.They say limited infrastructure is not having a significant effect on Europe's electric car sales, which still represent a fraction of the vehicle market, and the ratio of cars to points is within the EU recommendation of 10. Given most charging will be done at home, they add, a lack of off-street parking in some areas could deter drivers from switching to electric.'No overload'Like other German cities, Ruesselsheim is under pressure to roll out charging stations as environmental activists have started suing those municipalities that fail to comply with EU-wide rules for nitrogen dioxide emissions.With just 67,000 people, it has only a few charging points at the moment, some way behind the wealthy and populous Hamburg on about 880 and Berlin with some 780. It is however aiming to provide one charging point per 72 people, the highest level in Europe, with the help of Opel, which will build around half of the points, plus the technical know-how of the local RheinMain University. Opel is owned by France’s PSA Group.Ruesselsheim's electric plan won one of the highest grants under the German transport ministry's clean air program. But local officials described some of the complications in implementation.The installation of every charging point needs to be agreed with authorities such as those in charge of water, monument protection and civil engineering, for example. Charging equipment makers, meanwhile, have long lead times."We are chasing the same charging points, employees and supply technology as all the other cities," said city spokesman Asswin Zabel.Hooking up inner-city charging points on low voltage lines will be relatively easy although some local people may object, said Matthias Schweitzer, head of technology at the local utility, Stadtwerke Ruesselsheim. But laying 2 km of medium voltage lines and ordering new transformer substations could take up to nine months, he said.RheinMain University aims to accompany the roll out with storage facilities to absorb green power and offer supply on demand. But it must measure whether inverters, which turn alternating current power from the grid into direct current used by car batteries, cause too much stress on the network."We must ensure there is no overload," Schweitzer said.Yet more snags await: There is still a hodge-podge of charging and paying processes across the country as vendors are not in sync with each other, meaning Ruesselsheimers may encounter payment difficulties on longer journeys."There is no obligation to provide free roaming. People have to carry around far too many different customer cards,” said Hanns Koenig of research firm Aurora, which has studied commercial car charging opportunities.Vicious circleGermany is doing relatively well in Europe in terms of public charging points, with 17,400 countrywide, according to data from energy industry association BDEW. That would roughly equate to a point for every five of its 83,000 electric cars, about 1 percent of the vehicles on its roads.To keep up with sales, BDEW says thousands more public charging points are needed in coming years, as well as hundreds of thousands of private points at homes and workplaces.However funding could be a central problem in Germany, as well as in Europe and beyond, particularly along motorways which do not fall under any particular municipality.Automakers are largely pouring much of their money into the development of electric vehicles, while energy providers hesitate to take on responsibility for the roll out as long as car sales remain too low to provide a profitable customer base.In Germany, many of the roughly 1,500 local utility players simply cannot shoulder huge infrastructure costs, especially while commercial success is not assured.The situation could become a vicious circle, some industry experts say, since without a large number of charging stations, customers may be reluctant to make the leap to electric."Today it is still largely unclear who will make the necessary investment in the charging infrastructure in cities, housing and along the motorways in the short term, and how these can refinance themselves in the medium and long term," said Jens Haas, managing director automotive at AlixPartners. "This results in lasting skepticism among German car customers and, in turn, hesitant buying."
เมืองโอเปิ้ลเยอรมันนีแสดงความพร้อมที่จะเป็นเมืองแห่งรถยนต์ไฟฟ้า
ปี 2015-2018 เยอรมันมีรถยนต์ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น 5 เท่า และมีอัตราส่วนรถยนต์ไฟฟ้าต่อตู้ชาร์ต(17,400 จุด)เพิ่มขึ้นเป็น 7.0 (จากเดิม 6.1) ในขณะที่อเมริกาอยู่ที่ 19.7 และจีนอยู่ที่ 7.6 ซึ่งอาจส่งผลต่อยอดขายของรถไฟฟ้า ดังนั้นเมือง Ruesselsheim ของเยอรมัน ซึ่งเป็นเมืองต้นกำเนินของ Opel พยายามผลักดันให้เป็นเมืองที่มีการใช้รถยนต์ไฟฟ้า ด้วยการติดตั้งตู้ชาร์ต 1,300 จุด ในปี 2020 แต่มีประเด็นปัญหาที่จะเกิดขึ้นหลายอย่าง เหมือนกับที่เมืองอื่นๆ ในเยอรมันประสบปัญหาคือ
- ระยะเวลานานจากการผ่านความเห็นชอบจากหน่วยงานต่างๆ หลายนหน่วยงาน เช่น ประปา ฝ่ายวิศวกรรม เป็นต้น
- ระยะเวลานานในการสั่งซื้อตู้ชาร์ต และสายไฟแรงดันปานกลาง
- วิธีการ/รูปแบบการจ่ายค่าพลังงานในการชาร์ตไฟฟ้า
- การติดตั้งในพื้นที่สาธารณะจะต้องมีเทศบาลเป็นผู้ดูแล แต่ทางหลวงพิเศษไม่ได้อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของเทศบาลใดๆ จึงไม่มีผู้ผิดชอบโดยตรง
- ค่าใช้จ่ายและต้นทุนสำหรับผู้ให้บริการชาร์ตพลังงานที่สูง ส่งผลต่อผู้ให้บริการตามชนบทที่มีเงินทุนน้อย
ที่มา : AUTONEWS EUROPE : https://europe.autonews.com/automakers/germanys-opel-town-shows-struggle-europe-plug-electric-cars