Five Japanese automakers including Subaru, Suzuki and Mazda are each investing 2 percent in the on-demand, self-driving vehicle service set up by SoftBank and Toyota.Mazda, Suzuki, and Subaru, Isuzu Motors and Toyota's compact car unit Daihatsu will each invest 57.1 million yen ($530,620) in the venture -- called Monet -- in return for a 2 percent stake, the companies said in a statement Friday.SoftBank and Toyota will each retain their 35 percent stakes in the company, which is now capitalized at $26.6 million. The latest investors join Honda and Hino Motors, Toyota's truck-making operations.Honda and Hino said Friday they were making additional investments in the service but will each retain 10 percent stakes.The venture, launched in October, plans to roll out on-demand bus and vehicle services in Japan in the next year, and a services platform for electric vehicles in the country as early as 2023 based on Toyota's boxy "e-palette" multi-purpose vehicle.Monet is building up members as it joins the ride-sharing landscape which is dominated by startups such as Uber Technologies, Didi Chuxing and Lyft, as traditional automakers band together to compete in an industry which is placing growing emphasis on offering vehicle services rather than selling cars to individual drivers.Automakers are increasingly joining forces with technology companies as well as each other as they grapple with the large investment and software expertise required to develop these new services for which demand has yet to be tested.The new investment will see Suzuki, Mazda and Subaru deepen their partnership with Toyota, as they have already agreed to tap the r&d firepower of Japan's biggest automaker for EVs and other future vehicle technologies.Friday's announcement comes after Monet's CEO told Reuters earlier this month it was planning to expand its investor base and start operating in Southeast Asia next year.
เรื่อง มาสด้า ซูบารุ ร่วมทุนกับโตโยต้าในการทำรถยนต์ขับขี่อัตโนมัติ
ค่ายรถยนต์ญี่ปุ่นมีการจับมือกันในการพัฒนาบริการรถยนต์ขับขี่อัตโนมัติ โดยใช้ชื่อว่า MONET โดยมีผู้ถือหุ้นรายใหญ่คือโตโยต้าและ Softbank(บริษัทผู้นำด้านเทคโนโลยีของญี่ปุ่น) ฮอนด้าและฮีโน่ลงทุนร้อยละ 10 และเมื่อเร็วๆ นี้ผู้ผลิตรถยนต์อีก 5 ค่ายได้ลงทุนร้อยละ 2 ต่อค่าย ประกอบไปด้วย มาสด้า ซูบารุ ซูซูกิ อีซูซุ และไดฮัทซุ โดยจะมีรถบัสการให้บริการในปีหน้า และในปี 2030 จะมีรูปแบบบริการ(services platform) สำหรับรถยนต์ไฟฟ้าในปี 2030 ในรถรุ่น e-palette ของโตโยต้า
ที่มา : https://europe.autonews.com/automakers/mazda-subaru-join-toyotas-self-driving-vehicle-venture
บีเอ็มดับเบิ้ลยู ตอบรับกระแสโลก ยานยนต์ขับเคลื่อนพลังงานไฟฟ้า จัดเสวนา “The Future of Mobility” เผยปี 2564 บีเอ็มดับเบิ้ลยู กรุ๊ป จะมีรถยนต์ไฟฟ้าทั้งหมด 5 รุ่น คือ บีเอ็มดับเบิ้ลยู i3, มินิ อิเล็กทริค,บีเอ็มดับเบิ้ลยู iX3, บีเอ็มดับเบิลยู iNEXT และภายในปี 2568 จะมีรถยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้ารวมทั้งหมด 25 รุ่น ประกอบด้วยรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ 12 รุ่น ล่าสุดลงทุนกว่า 400 ล้านบาท ประกอบแบตเตอรี่แรงดันสูงในไทย และอีก 700 ล้านบาท ประกอบรถยนต์ปลั๊กอินไฮบริด นายคริสเตียน วิดมานน์ ประธาน บีเอ็มดัเบิ้ลยู กรุ๊ป ประเทศไทย เปิดเผยว่า การจัดงานเสวนารวมผู้เชี่ยวชาญในอุตสาหกรรมยานยนต์ มาร่วมกันแสวงหาแนวทางสู่อนาคตที่ลดมลภาวะจากการใช้พลังงานสะอาดครั้งนี้เพื่อรองรับการเติบโตของยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทยและตอบรัลบแผนพลังงาน ที่ได้ตั้งเป้ายอดการใช้งานรถยนต์ไฟฟ้าและรถยนต์ปลั๊กอินไฮบริดในประเทศไทยไว้ 1.2 ล้านคันภายในปี 2579 โดยในปี 2561 ที่ผ่านมา บีเอ็มดับเบิ้ลยูมียอดรถยนต์ปลั๊กอินไฮบริด (PHEV) ในประเทศไทยที่พุ่งสูงขึ้นถึง 122% จากการเปิดตัวรุ่น 530e,740Le, i8 Coupe และ 18 Roadster พร้อมการขยายเครือข่ายการให้บริการสถานีอัดประจุไฟฟ้าสาธารณะสำหรับรถยนต์ไฟฟ้าและรถยนต์ปลั๊กอิน ไฮบริดอย่างต่อเนื่อง สานต่อจากการริเริ่มโครงการ ChargeNow เมื่อปี 2560 โดยสร้างเครือข่ายสถานีอัดประจุไฟฟ้าที่สมาชิก ChargreNow ไม่ว่าจะเป็นรุ่นใดหรือยี่ห้อใดก็สามารถมาใช้บริการได้ที่สถานี ChargeNow ทุกสาขา โดยปัจจุบันให้บริการทั้งหมด 121 หัวจ่าย ทั้งที่สถานี ChargeNow และที่ผู้จำหน่ายอย่างเป็นทางการของบีเอ็มดับเบิ้ลยู ใน 57 แห่ง ทั่วประเทศไทย
ที่มา : หนังสือพิมพ์ สยามธุรกิจ ฉบับวันที่ 2 กรกฎาคม 2562
งานบางกอก อินเตอร์เนชั่นแนล ออโต ซาลอน 2019 ปีนี้จัดภายใต้แนวคิด World Class Auto Fest เทศกาลรถแต่งระดับโลกเริ่ม 3-7 กรกฎาคม 2562 ณ ชาเลนเจอร์ ฮอลล์ 3 อิมแพ็ค เมืองทองธานี ตื่นตาตื่นใจกีบสุดยอดรถแต่งส่งตรงจากญี่ปุ่น ที่มาพร้อม เซ็กซี่ เกิร์ล สร้างสีสันสุดเร้าใจในงานปีนี้ โดยทัพสุดยอดรถแต่งจากญี่ปุ่นที่มาอวดโฉมเผยนวัตกรรมเทรนด์การแต่งรถ ที่เป็นไฮไลต์เด็ดของปีนี้ได้แก่ รถยนต์ Suzuki Jimny Wald Bison Edition เป็นต้น ที่จัดมาเพื่อสาวกรถแต่ง ผู้ที่ชื่นชอบการแต่งรถอย่างเต็มรูปแบบ ที่สำคัญคือการมาโชว์โฉมของบรรดาสาวสวยประเทศญี่ปุ่น เอมิริ ฮาสึกิ และ ซูซูโนะ โกโตะ “ออโต ซาลอน เรซควีน เจแปน” ประชันสาวสวยเมืองไทย เชอรี่ และ เฌอเบล “ออโต ซาลอน เรซควีน ไทยแลนด์” กระชากทุดดีกรีความเซ็กซี่ นอกจากนี้ ภายในงาน บางกอก อินเตอร์เนชั่นเนล ออโต ซาลอน 2019 ยังเปิดขายรถใหม่ อุปกรณ์ตกแต่งไทยและต่างประเทศ พร้อมโปรโมชั่นจากบริษัทรถยนต์ รถจักรยานยนต์ และสำหรับผู้ซื้อรถภายในงานลุ้นรถมาสด้า 2 ออโต ซาลอน เอดิซั่น,ลุ้นเที่ยวญี่ปุ่น,ซื้อสินค้าภายในงานครบ 1,000 บาท รับทันทีบัตรกำนัล รวมมูลค่ากว่า 2 ล้านบาท ผู้สนใจเข้าชมงานบัตรจำหน่ายในราคา 100 บาท
ที่มา : หนังสือพิมพ์ สยามธุรกิจ ฉบับวันที่ 2 กรกฎาคม 2562
“วินฟาสต์” แบรนด์รถยนต์แห่งชาติเวียดนามกำลังสร้างความฮือฮาแก่ประชาคมโลก โดย “เล ถิ ถื่อ ถวี่ ประธานบริษัท วินฟาสต์ ได้รับเชิญขึ้นปาฐกถาในหัวข้อ “Automotive ASEAN” ในเวทีประชุมผู้นำธุรกิจอาเซียน หรือ ASEAN Business Summit 2019 “เล ถิ ถื่อ ถวี่” หรือ “ถวี่ เล” ประธานหญิงแห่ง วินฟาสต์” รถยนต์สัญชาติเวียดนามน้องใหม่ ภายใต้เครือ “Vingroup” กลุ่มบริษัทยักษ์ใหญ่ของเวียดนาม ระบุว่า “แม้เราจะยังเป็นน้องใหม่ในวงการยานยนต์แต่เรามีความทะเยอทะยานที่จะทำตามเป้าหมายสูงสุดให้ได้ นั่นคือ รถยนต์เวียดนามสู่รถยนต์ระดับโลก” นอกจากนี้ ถวี่ เล ยังนั่งเป็นรอประธานของ Vingroup กล่าวว่า วินกรุ๊ปถือเป็น “บริษัทเอกชน” ยักษ์ใหญ่ในเวียดนาม ไม่ได้โฟกัสแค่การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ แต่เราพยายามสร้างอาณาจักร Vingroup ทำธุรกิจเกือบทุกอย่าง ตั้งแต่ธุรกิจค้าปลีก อสังหาริมทรัพย์ เกษตรกรรม และสมาร์ทโฟนแบรนด์ “Vsmart” สำหรับ Vinfast ถือเป็นไลน์ธุรกิจใหม่ล่าสุดของบริษัทได้ลงทุน 3,500 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เปิดโรงงานการผลิตบนพื้นที่ขนาด 335 เอเคอร์ที่เมืองไฉฟอง ทางตอนเหนือของเวียดนามเมื่อปี 2017
ที่มา : หนังสือพิมพ์ ประชาชาติธุรกิจ ฉบับวันที่ 1 กรกฎาคม 2562
อุตสาหกรรมรถยนต์กำลังปรับตัวขนาดใหญ่ “นิสสัน” และ “ตงเฟิง” กำลังเจรจากับ “ตี้ตี้ ชูชิง” เพื่อตั้งบริษัทร่วมทุนที่จะบริหารรถยนต์ให้ตี้ตี้ ในขณะที่โตโยต้าทุ่มลงทุน 2,000 ล้านดอลลาร์ พัฒนารถยนต์ไฟฟ้าในอิโดนีเซีย ส่วนฟอร์ดจะลดคนงาน 12,000 คนในยุโรปภายในปลายปีหน้า ผู้ที่ใกล้ชิดกับสถานการณ์เปิดเผยว่า นิสสัน มอเตอร์ และ ตงเฟิง กรุ๊ป ซึ่งเป็นหุ้นส่วนในจีนของนิสสัน กำลังเจรจากับตี้ตี้ ชูขิง เพื่อตั้งบริษัทร่วมทุนที่จะบริหารรถยนต์ให้ตี้ตี้ ชูชิง สำหรับให้บริการรถยนต์ร่วมโดยสารและบริการรถเช่า แหล่งข่าวกล่าวว่า กำลังมีการสำรวจความเป็นได้ที่จะตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างนิสสันและตงเฟิงเพื่อออกแบบและผลิตรถยนต์ให้กับตี้ตี้ซึ่งน่าจะเป็นรถยนต์ที่ใช้แบตเตอรี่และรถยนต์ที่ใช้คนขับในที่สุด การเป็นหุ้นส่วนกัน จะช่วยให้นิสสันผลิตรถยนต์ไฟฟ้าและรถยนต์ Plug-in hybrids ได้ตามโควตาการผลิตในประเทศจีนและจะเหมือนกับบริษัทร่วมทุนที่โฟร์กสวาเกนได้ตั้งร่วมกับตี้ตี้เมื่อปีที่แล้ว ตามส่วนหนึ่งของข้อตกลงที่ได้วางแผนไว้บริษัทร่วมทุนในจีนของนิสสันจะช่วยบริหารรถยนต์ไฟฟ้าและรถยนต์ท่ใช้น้ำมันใน 12 เมืองใหญ่ให้กับตี้ตี้ และจะช่วยบำรุงรักษาและให้บริการแก่รถยนต์ที่ให้เช่าแก่คนขับอิสระด้วยในขณะเดียวกันจะจัดหารถยนต์ให้ด้วย โดยรถยนต์ส่วนหนึ่งอาจเป็นแบรนด์ของตงเฟิงเอง นิสสัน ตงเฟิง และตี้ตี้ ยังไม่ได้ให้ความเห็นต่อรายงานนี้ แต่แหล่งข่าว 3 รายกล่าวว่า การเจรจาได้เริ่มมาตั้งแต่ปีที่แล้วแต่กำลังมีการพิจารณาว่าลงทุนเท่าไหร่ การตกลงในขั้นสุดท้ายอาจล่าช้าได้ นิสสันกำลังมีความสัมพันธ์อันตึงเครียดกับเรโนลต์หลังจากที่ได้ปลดคาร์ลอส โกส์น อดีตซีอีโอและประธานคณะกรรมการบริหาร บริษัทได้คาดการณ์ว่าในปีการเงินปีนี้ กำไรจะลดลงมากเป็นปีที่สื่ ส่วนตี้ตี้กำลังถูกกดดันจากนักลงทุนให้ทำกำไรให้มากขึ้น
ที่มา : หนังสือพิมพ์ ข่าวหุ้น ฉบับวันที่ 1 กรกฎาคม 2562
“วินฟาสต์” แบรนด์รถยนต์แห่งชาติเวียดนามกำลังสร้างความฮือฮาแก่ประชาคมโลก โดย “เล ถิ ถื่อ ถวี่ ประธานบริษัท วินฟาสต์ ได้รับเชิญขึ้นปาฐกถาในหัวข้อ “Automotive ASEAN” ในเวทีประชุมผู้นำธุรกิจอาเซียน หรือ ASEAN Business Summit 2019 “เล ถิ ถื่อ ถวี่” หรือ “ถวี่ เล” ประธานหญิงแห่ง วินฟาสต์” รถยนต์สัญชาติเวียดนามน้องใหม่ ภายใต้เครือ “Vingroup” กลุ่มบริษัทยักษ์ใหญ่ของเวียดนาม ระบุว่า “แม้เราจะยังเป็นน้องใหม่ในวงการยานยนต์แต่เรามีความทะเยอทะยานที่จะทำตามเป้าหมายสูงสุดให้ได้ นั่นคือ รถยนต์เวียดนามสู่รถยนต์ระดับโลก” นอกจากนี้ ถวี่ เล ยังนั่งเป็นรอประธานของ Vingroup กล่าวว่า วินกรุ๊ปถือเป็น “บริษัทเอกชน” ยักษ์ใหญ่ในเวียดนาม ไม่ได้โฟกัสแค่การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ แต่เราพยายามสร้างอาณาจักร Vingroup ทำธุรกิจเกือบทุกอย่าง ตั้งแต่ธุรกิจค้าปลีก อสังหาริมทรัพย์ เกษตรกรรม และสมาร์ทโฟนแบรนด์ “Vsmart” สำหรับ Vinfast ถือเป็นไลน์ธุรกิจใหม่ล่าสุดของบริษัทได้ลงทุน 3,500 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เปิดโรงงานการผลิตบนพื้นที่ขนาด 335 เอเคอร์ที่เมืองไฉฟอง ทางตอนเหนือของเวียดนามเมื่อปี 2017
ที่มา : หนังสือพิมพ์ ประชาชาติธุรกิจ ฉบับวันที่ 1 กรกฎาคม 2562
อุตสาหกรรมรถยนต์กำลังปรับตัวขนาดใหญ่ “นิสสัน” และ “ตงเฟิง” กำลังเจรจากับ “ตี้ตี้ ชูชิง” เพื่อตั้งบริษัทร่วมทุนที่จะบริหารรถยนต์ให้ตี้ตี้ ในขณะที่โตโยต้าทุ่มลงทุน 2,000 ล้านดอลลาร์ พัฒนารถยนต์ไฟฟ้าในอิโดนีเซีย ส่วนฟอร์ดจะลดคนงาน 12,000 คนในยุโรปภายในปลายปีหน้า ผู้ที่ใกล้ชิดกับสถานการณ์เปิดเผยว่า นิสสัน มอเตอร์ และ ตงเฟิง กรุ๊ป ซึ่งเป็นหุ้นส่วนในจีนของนิสสัน กำลังเจรจากับตี้ตี้ ชูขิง เพื่อตั้งบริษัทร่วมทุนที่จะบริหารรถยนต์ให้ตี้ตี้ ชูชิง สำหรับให้บริการรถยนต์ร่วมโดยสารและบริการรถเช่า แหล่งข่าวกล่าวว่า กำลังมีการสำรวจความเป็นได้ที่จะตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างนิสสันและตงเฟิงเพื่อออกแบบและผลิตรถยนต์ให้กับตี้ตี้ซึ่งน่าจะเป็นรถยนต์ที่ใช้แบตเตอรี่และรถยนต์ที่ใช้คนขับในที่สุด การเป็นหุ้นส่วนกัน จะช่วยให้นิสสันผลิตรถยนต์ไฟฟ้าและรถยนต์ Plug-in hybrids ได้ตามโควตาการผลิตในประเทศจีนและจะเหมือนกับบริษัทร่วมทุนที่โฟร์กสวาเกนได้ตั้งร่วมกับตี้ตี้เมื่อปีที่แล้ว ตามส่วนหนึ่งของข้อตกลงที่ได้วางแผนไว้บริษัทร่วมทุนในจีนของนิสสันจะช่วยบริหารรถยนต์ไฟฟ้าและรถยนต์ท่ใช้น้ำมันใน 12 เมืองใหญ่ให้กับตี้ตี้ และจะช่วยบำรุงรักษาและให้บริการแก่รถยนต์ที่ให้เช่าแก่คนขับอิสระด้วยในขณะเดียวกันจะจัดหารถยนต์ให้ด้วย โดยรถยนต์ส่วนหนึ่งอาจเป็นแบรนด์ของตงเฟิงเอง นิสสัน ตงเฟิง และตี้ตี้ ยังไม่ได้ให้ความเห็นต่อรายงานนี้ แต่แหล่งข่าว 3 รายกล่าวว่า การเจรจาได้เริ่มมาตั้งแต่ปีที่แล้วแต่กำลังมีการพิจารณาว่าลงทุนเท่าไหร่ การตกลงในขั้นสุดท้ายอาจล่าช้าได้ นิสสันกำลังมีความสัมพันธ์อันตึงเครียดกับเรโนลต์หลังจากที่ได้ปลดคาร์ลอส โกส์น อดีตซีอีโอและประธานคณะกรรมการบริหาร บริษัทได้คาดการณ์ว่าในปีการเงินปีนี้ กำไรจะลดลงมากเป็นปีที่สื่ ส่วนตี้ตี้กำลังถูกกดดันจากนักลงทุนให้ทำกำไรให้มากขึ้น
Unifor, the union that represents about 40,000 workers in the auto industry, wants to ensure parts workers affected by General Motors’ decision to end vehicle assembly at its Oshawa, Ont., plant are fairly compensated for the coinciding loss of jobs.Unifor claims an estimated 1,700 members in the parts sector are facing job loss due to the Oshawa closure, which is to begin winding down production in September. It will cease completely in December.General Motors will no longer produce the Cadillac XTS and Chevrolet Impala. It will also stop final assembly of the outgoing Chevrolet Silverado and GMC Sierra in Oshawa, leaving workers there with no product to assemble after December.“This will cause the closure of several independent parts suppliers,” Unifor said Tuesday in a news release.The majority of the job losses will occur at CEVA Logistics, Syncreon Supplier Park, Inteva, Oakley, Auto Warehousing, Marek Hospitality, Securitas, Robinson Solutions, Robinson Building Services and Lear Whitby, the union says.“The workers deserve respect and support as operations are restructured or wound down,” Unifor President Jerry Dias said in a statement. “Unifor is determined to secure agreements that address important issues such as transition to retirement opportunities, financial support, and adjustment support.”On Sunday, Lear Whitby workers who are members of Unifor Local 222 in Oshawa, met with local and national union leadership to discuss concerns over pension eligibility, severance, and health-care benefits.“In every one of these workplaces, severance is a key issue. Workers facing job loss need a financial bridge as they transition. That is why we are demanding that all of these companies step up and provide enhanced severance for affected workers,” Colin James, president of Unifor Local 222, said in a statement.About 350 workers at Lear Whitby produce car seats for GM’s Oshawa plant. The earliest retirement age under the pension plan at Lear Whitby is 60.Dias said “the vast majority of the workers” at Lear Whitby are in their “mid-fifties and have at least 30 years of service.”“The closure creates a massive problem as it currently prevents many of these members from reaching retirement eligibility under the pension plan. This issue highlights why we fought so hard to try to convince GM to keep building vehicles in Oshawa,” Dias said. “On the other end of the spectrum are companies like Oakley and CEVA where our members are younger and need access to adjustment centre funding as they try to transition to new employment.”
คนที่อุปมา “เอนเอนร์ยี แอบโซลูด อีเอ” หรือ “บมจ. พลังงาน บริสุทธิ์ ว่าเป็น “เทสลาแห่งเมืองไทย” คือสำนักข่าวบลูมเลิร์กที่เผยแพร่เรื่องนี้เอาไว้เมื่อ 20 มิถุนายนที่ผ่านมา