สมัครสมาชิกวันนี้

  • Silver
  • สมาชิกระดับ Silver
  • ฟรี
  • สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารขั้นพื้นฐานได้
  • ข้อมูลผู้ประกอบการต่างประเทศ
  • ข้อมูลสถิติในประเทศและต่างประเทศ
  • มาตรการทางการค้าระหว่างประเทศ
  • กฎ ระเบียบ นโยบายในประเทศ
  • เทคโนโลยี และงานวิจัย
  • สมัครสมาชิก
ข่าวสารยานยนต์
อ่านข่าวสารล่าสุด

ค้นหาข้อมูล

ความเคลื่อนไหวในอุตสาหกรรม

Beijing has rolled out the most generous subsidy program among domestic cities to encourage use of full-electric vehicles as taxis. Under the program, Chinas capital will offer up to 73,800 yuan ($10,727) per vehicle if a taxi operator buys EVs to replace gasoline vehicles that have been scrapped since 2018 or will be scrapped by 2020, the Beijing city government said on its website. Eligible EVs must have a minimum range of 300 kilometers (186 miles) and their manufacturers must provide a warranty of eight years or mileage of 600,000 km for EV batteries.The subsidy program, which took effect July 16, will remain through 2020.Beijing, with nearly 22 million residents, is Chinas second most populous city, after Shanghai. The city has roughly 67,000 taxis, according to the local government

รัฐบาลปักกิ่งเสนอเงินสนับสนุนเพื่อเปลี่ยนรถแท็กซี่ให้เป็นรถยนต์ไฟฟ้า

รัฐบาลปักกิ่งจะเสนอเงินสนับสนุนมูลค่า 73,800 หยวน (ประมาณ 330,000 บาท) สำหรับเจ้าของรถแท็กซี่ที่มีกำหนดต้องเปลี่ยนรถใหม่ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2018 2020 โดยมีข้อแม้ว่ารถยนต์ไฟฟ้าที่จะได้รับการอุดหนุนจะต้องมีระยะทางวิ่งได้ 300 กิโลเมตรต่อการประจุไฟฟ้า 1 ครั้ง และมีการรับประกับแบตเตอรี่ 8 ปี หรือ 600,000 กิโลเมตร โดยการอุดหนุนดังกล่าวได้เริ่มในวันที่ 16 กรกฎาคม ที่ผ่านมา

Volvo is recalling 507,000 vehicles worldwide because of a faulty engine component that, in extreme cases, could result in a fire.Volvo said its own investigations have identified that “in very rare cases the plastic engine intake manifold may melt and deform.”The cars being recalled were produced between 2014 and 2019 and have a 2.0-liter, four-cylinder diesel engine, Volvo said.The affected models are the S60, S80, S90, V40, V60, V70, V90, XC60 and XC90.While the company has no reports of accidents or personal injuries, all customers will receive a letter asking them to contact their local retailer for corrective action."In the very worst case, there is a possibility that a localized engine bay fire may occur," Volvo said.When asked to provide details of the potential financial impact, Stefan Elfstrom, a spokesman for the automaker, said, "We don't comment on the cost."The company is keen to fix the faulty vehicles as fast as possible and customers will not incur any costs related to addressing the error, he said

วอลโว่เรียกคืนรถยนต์กว่า 507,000 คันทั่วโลก หลังจากสอบสวนพบความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดไฟไหม้

วอลโว่ (Volvo) เรียกคืนรถยนต์ 507,000 คันทั่วโลก เนื่องจากความผิดพลาดในส่วนประกอบของเครื่องยนต์ ซึ่งในกรณีที่ร้ายแรงที่สุดอาจก่อให้เกิดไฟไหม้ได้ วอลโว่กล่าวว่าในการสอบสวนของทางบริษัทสามารถระบุได้ว่า “เป็นเหตุที่พบได้ยากในกรณีที่พลาสติกของเครื่องยนต์ท่อไอดีอาจเกิดการละลายและผิดรูป”โดยรถยนต์ที่ถูกเรียกคืนคือรถยนต์ที่ถูกผลิตขึ้นในระหว่างปี 2014 ถึง 2019 ขนาดเครื่องยนต์ 2.0 ลิตร เครื่องยนต์ดีเซล 4 กระบอกสูบ ซึ่งรุ่นที่ได้รับผลกระทบ ได้แก่ S60, S80, S90, V40, V60, V70, V90, XC60, และ XC90 ในขณะที่ทางบริษัทยังไม่ได้รับรายงานเกี่ยวกับอุบัติเหตุ หรือ การบาดเจ็บส่วนบุคคล โดยลูกค้าจะได้รับจดหมายสอบถามถึงการติดต่อกับศูนย์วอลโว่ในพื้นที่สำหรับการดำเนินการแก้ไข ในกรณีที่เลวร้ายที่สุด ซึ่งมีความเป็นไปได้ว่าอาจเกิดไฟไหม้ที่ห้องเครื่อง ซึ่งเมื่อถามถึงรายละเอียดเกี่ยวกับผลกระทบทางการเงินที่อาจเกิดขึ้น สเตฟาน เอลฟ์สตอร์ม (Stefan Elfstorm) โฆษกของวอลโว่กล่าวว่า “เราขอไม่ให้ความเห็นเกี่ยวกับเรื่องค่าใช้จ่าย” โดยบริษัทมีความกระตือรือร้นที่จะแก้ไขข้อผิดพลาดของรถยนต์ให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และลูกค้าไม่มีความจำเป็นต้องกังวลเรื่องค่าใช้จ่ายใดๆที่เกี่ยวข้องกับความผิดพลาดนี้

ที่มา: Automotive News Europe ประจำวันที่ 22 กรกฎาคม 2562

อุตสาหกรรมยานยนต์ของสหราชอาณาจักรมองเห็นการหักเลี้ยวจากอุปสรรคจากการแยกตัวของอังกฤษ (Brexit) ซึ่งเป็นตัวเร่งสู่การเกิดกระแสไฟฟ้าเช่นเดียวกับการที่ผู้บริโภคหลีกเลี่ยงการสร้างมลพิษจากเครื่องยนต์ดีเซล ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีขั้นสูงและนโยบายสีเขียวจากรัฐบาล โดยรถยนต์ 4 แบรนด์ชั้นนำที่มีต้นกำเนิดในสหราชอาณาจักร แต่ปัจจุบันมีเจ้าของเป็นชาวต่างชาติ อย่างเช่นแบรนด์ Bently  and Mini และ Indian-blacked Jaguar ที่มีเจ้าของเป็นชาวเยอรมัน และแบรนด์ Lotus ที่มีเจ้าของเป็นชาวจน ซึ่งแต่ละแบรนด์ต่างมีแนวทางในการสร้างโมเดลรถยนต์ไฟฟ้าไปควบคู่กับรถยนต์ขับเคลื่อนด้วยน้ำมัน ซึ่งรถยนต์ไฟฟ้ามีแนวโน้มการตอบซึ่งรถยนต์ไฟฟ้ามีแนวโน้มการตอบรับที่ดีจากผู้บริโภคที่ต้องการหลีกเลี่ยงที่จะสร้างมลพิษทางอากาศที่เกิดจากเครื่องยนต์สันดาปภายในผู้ผลิตรถสปอร์ตคาร์ แบรนด์ Evija ซึ่งเป็นไฟฟ้าทั้งคันได้ให้ความเห็นว่า “พลังงานไฟฟ้าจะเป็นส่วนหนึ่งของอนาคตอย่างสมบูรณ์แบบ ซึ่งในเวลาอีกไม่นาน รถยนต์ทั้งหมดของเราจะเสนอเทคโนโลยีขับเคลื่อนไฟฟ้า” โดยการยกเลิกใช้ส่วนประกอบใหญ่ๆเช่น เครื่องยนต์สันดาปภายใน และกล่องเกียร์ จะทำให้รถยนต์ของ Evija ถูกเรียกว่าเป็นรถยนต์ Hyper car ซึ่งจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้าในการขับเคลื่อนแต่ละล้อ

ที่มา : หนังสือพิมพ์ Bangkok Post ฉบับวันที่ 23 กรกฎาคม 2562

อุตสาหกรรมยานยนต์ของสหราชอาณาจักรมองเห็นการหักเลี้ยวจากอุปสรรคจากการแยกตัวของอังกฤษ (Brexit) ซึ่งเป็นตัวเร่งสู่การเกิดกระแสไฟฟ้าเช่นเดียวกับการที่ผู้บริโภคหลีกเลี่ยงการสร้างมลพิษจากเครื่องยนต์ดีเซล ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีขั้นสูงและนโยบายสีเขียวจากรัฐบาล โดยรถยนต์ 4 แบรนด์ชั้นนำที่มีต้นกำเนิดในสหราชอาณาจักร แต่ปัจจุบันมีเจ้าของเป็นชาวต่างชาติ อย่างเช่นแบรนด์ Bently  and Mini และ Indian-blacked Jaguar ที่มีเจ้าของเป็นชาวเยอรมัน และแบรนด์ Lotus ที่มีเจ้าของเป็นชาวจีน ซึ่งแต่ละแบรนด์ต่างมีแนวทางในการสร้างโมเดลรถยนต์ไฟฟ้าไปควบคู่กับรถยนต์ขับเคลื่อนด้วยน้ำมัน ซึ่งรถยนต์ไฟฟ้ามีแนวโน้มการตอบซึ่งรถยนต์ไฟฟ้ามีแนวโน้มการตอบรับที่ดีจากผู้บริโภคที่ต้องการหลีกเลี่ยงที่จะสร้างมลพิษทางอากาศที่เกิดจากเครื่องยนต์สันดาปภายในผู้ผลิตรถสปอร์ตคาร์ แบรนด์ Evija ซึ่งเป็นไฟฟ้าทั้งคันได้ให้ความเห็นว่า “พลังงานไฟฟ้าจะเป็นส่วนหนึ่งของอนาคตอย่างสมบูรณ์แบบ ซึ่งในเวลาอีกไม่นาน รถยนต์ทั้งหมดของเราจะเสนอเทคโนโลยีขับเคลื่อนไฟฟ้า” โดยการยกเลิกใช้ส่วนประกอบใหญ่ๆเช่น เครื่องยนต์สันดาปภายใน และกล่องเกียร์ จะทำให้รถยนต์ของ Evija ถูกเรียกว่าเป็นรถยนต์ Hyper car ซึ่งจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้าในการขับเคลื่อนแต่ละล้อ

ที่มา : หนังสือพิมพ์ Bangkok Post ฉบับวันที่ 23 กรกฎาคม 2562

เป็นเวลากว่า2ปีที่รัฐบาลได้จัดตั้งกองทุนสำหรับการผลิตยานยนต์ขับเคลื่อนไฟฟ้าภายในประเทศ โดยโครงการดังกล่าวได้สร้างกว่า 20-30 แอพพลิเคชั่นการลงทุน ซึ่งครอบคลุมไปถึงการประกอบรถยนต์, การผลิตชิ้นส่วนสำคัญ, และ สถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้า คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (Board of Investment : BOI) ได้ขยายแรงจูงใจในการลงทุนสำหรับผู้ร่วมลงทุน โดยจะพิจารณาเป็นพิเศษสำหรับการลงทุนในรถยนต์ Plug-in hybrid EV, รถยนต์แบตเตอรี่ EV, รถบัสไฟฟ้า, และชิ้นส่วนของยานยนต์ไฟฟ้าซึ่งมีมูลค่ากว่า 1.4 พันล้านบาท รวมถึงโครงการสถานีชาร์จไฟสำหรับรถยนต์ไฟฟ้า โดยเลขาธิการ BOI กล่าวว่า ทางสมาคมได้อนุมัติ9โครงการที่เกี่ยวกับรถยนต์ไฟฟ้า ซึ่งมีมูลค่ากว่า 5,100ล้านบาทสำหรับการประกอบรถยนต์ ประกอบด้วย โครงการเกี่ยวกับรถยนต์ hybrid EV 4 โครงการ เกี่ยวกับรถยนต์ Plug-in hybrid EV 4 โครงการ และโครงการแบตเตอรี่ EV 1 โครงการ Toyota และ Honda ได้ทำการเริ่มผลิตไปแล้วในไทย สำหรับโครงการ hybrid EV ในขณะที่ Mercedes Benz และ BMW ยังคงมีความสนใจกับ plug-in hybrid EV แบตเตอรี่ FOMM พร้อมสำหรับจำหน่ายในเชิงพาณิชย์ แต่ยอดขายยังไม่เป็นที่น่าพอใจเนื่องจากความแตกต่างกันของรุ่นแบตเตอรี่ในแต่ละรุ่นของรถยนต์โดยผู้ลงทุนจะต้องส่งหลักฐานการสมัครเข้าร่วมโครงการสำหรับรถยนต์ hybrid ในปี 2019 ในขณะที่การประกอบแบตเตอรี่สำหรับEV ยังคงต้องการเวลาภายในสามปี โดย BOI ต้องการให้ผู้ลงทุนสามารถผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ EV อย่างน้อย 1ชิ้นในปีแรก และเพิ่มขึ้นเป็น 4ชิ้น ในเวลา 3ปี โดยชิ้นส่วนที่จำเป็นได้แก่ แบตเตอรี่, มอเตอร์ลากจูง, หน่วยควบคุมการขับขี่, และ ระบบควบคุมแบตเตอรี่

ที่มา : หนังสือพิมพ์ Bangkok Post ฉบับวันที่ 22 กรกฎาคม 2562

Six automakers and supplier ZF TRW face a federal lawsuit seeking class-action certification over defective airbag control units.The complaint, filed Monday in U.S. District Court for the Central District of California, claims the automakers and U.S. supplier TRW, acquired by Germany's ZF Friedrichshafen in 2015, concealed airbag defects from consumers.The automaker defendants in the suit include Kia Motors America, Hyundai Motor America, Fiat Chrysler Automobiles, Mitsubishi Motors America, American Honda Motor and Toyota Motor U.S.A.The most recent lawsuit claims the airbag control unit can "seize-up" during an accident, causing airbags to fail to deploy and a seat belt lock failure.MLG, a California law firm, and Kaplan Fox and Kilsheimer, of New York, filed the suit on behalf of six plaintiffs who say they would not have bought their vehicles or paid less for them if they had known about the airbag control unit defect.The lawsuit lists more than 50 models from Acura, Honda, Dodge, Jeep, Ram, Hyundai, Kia, Mitsubishi and Toyota as containing the defective unit. In April, NHTSA expanded the investigation related to ZF TRW airbag control units to include 12.3 million vehicles by the same manufacturers named in the lawsuit.

6 ผู้ผลิตยานยนต์และ ZF TRW ผู้ผลิตเทคโนโลยีระบบขับเคลื่อน ผู้ผลิตเทคโนโลยีระบบขับเคลื่อนอัตโนมัติเผชิญกับกฎหมายเกี่ยวกับระบบถุงลมนิรภัย

6 ผู้ผลิตยานยนต์และผู้ผลิตเทคโนโลยีระบบขับเคลื่อนอย่าง ZF TRW กำลังเผชิญกับข้อกฎหมายของรัฐที่ออกมาเพื่อรับรองเกี่ยวกับข้อผิดพลาดในระบบควบคุมถุงลมนิรภัยในรถยนต์ หลังจากมีการฟ้องร้องจากลูกค้าในเรื่องข้อผิดพลาดของถุงลมนิรภัยซึ่งเกิดจากบริษัท ZF Friedrichshafen เมื่อปี 2015 จำเลยซึ่งเป็นผู้ผลิตรถยนต์ในครั้งนี้รวมไปถึง Kia Motors America, Hyundai Motor America, Fiat Chrysler Automobile, Mitsubishi Motors America, American Honda Motor, และ Toyota Motor U.S.A. ในขณะที่ Kia, Hyundai, และ ZF TRW กำลังเผชิญหน้ากับอีกคดีในลักษณะที่คล้ายกัน โดยคดีความส่วนมากมักเป็นข้อเรียกร้องเกี่ยวกับการควบคุมถุงลมนิรภัยซึ่งสามารถขยายขนาดได้ขณะเกิดอุบัติเหตุ เป็นเหตุให้การปรับใช้ถุงลมเกิดข้อผิดพลาด และตัวล็อคเข็มขัดนิรภัยขัดข้อง MGL หนึ่งในบริษัทกฎหมายในแคลิฟอร์เนียกล่าวว่า จากการยื่นคดีในนามของ6โจทก์ พวกเขากล่าวว่าจะไม่มีทางจ่ายเงินเพื่อซื้อรถยนต์ดังกล่าว ถึงแม้จะได้ในราคาที่ถูกลง แต่ก็ไม่คุ้มกับข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น ซึ่งทางบริษัทกฎหมายได้รายการรุ่นรถยนต์ไว้กว่า 50 รุ่น ที่เกิดข้อผิดพลาดดังกล่าวขึ้น เช่น Acura, Honda, Dodge, Jeep, Ram, Hyundai, Kia, Mitsubishi, และ Toyota โดยในเดือนเมษายนที่ผ่านมา NHTSA ได้ขยายการสอบสวนที่เกี่ยวข้องกับระบบควบคุมถุงลมนิรภัยของ ZF TRW ซึ่งมีรถยนต์กว่า 12.3 ล้านคันที่มาจากผู้ผลิตเดียวกัน

ที่มา: Automotive News Europe ประจำวันที่ 19 กรกฎาคม 2562

BMW and Chinese online gaming giant Tencent Holdings are teaming up to launch a computing center in China that will help develop self-driving cars in the world's biggest auto market, the companies said on Friday.The computing center, which will start operations by the end of the year, will provide cars with data-crunching capabilities to help them drive semi-autonomously and, eventually, autonomously.The two companies did not disclose the investment in the center. Sources familiar with the deal said the center will be built in the eastern city of Tianjin.The establishment of the center "will support BMW's autonomous driving development and innovation in China," Jochen Goller, head of BMW's China operations, said. "BMW can, therefore, develop autonomous driving solutions that fit better with the specific driving conditions in China," he said.BMW said the new computing center will leverage Tencent's cloud computing and big data, and provide the automaker with infrastructure needed to develop the autonomous cars.The automaker says it will likely introduce semi-autonomous, or level 3 classification, cars in China in 2021 which would need massive computing power to analyze real-time flow of digital information on road and traffic conditions.Driverless cars need sophisticated data-crunching capabilities as they rely on so-called artificial-intelligence, or neuro-network technology, to help them "learn" from experience and could eventually drive themselves without human intervention.BMW's planned Chinese computing center follows the opening earlier this year of a similar computing center in Munich.

BMW และ Tencent จะเปิดศูนย์คอมพิวเตอร์ในจีนเพื่อการพัฒนายานยนต์ไร้คนขับ

BMW และ Tencent (บริษัทเกมส์ออนไลน์ยักใหญ่ของจีน) ได้ร่วมกันตั้งศูนย์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนายานยนต์ไร้คนขับ ซึ่งจะมีการเริ่มเปิดดำเนินการในปลายปีนี้ โดยจะตั้งขึ้นที่เมืองเทียนจิน ประเทศจีน โดย BMW มีความต้องการเพื่อศึกษาวิธีการขับอัตโนมัติที่เป็นเฉพาะของประเทศจีน ซึ่งจะมีการใช้คราวน์และการจัดการข้อมูลขนาดใหญ่โดย Tencent และการลงทุนสิ่งอำนวยความสะดวกโดย BMW มีการคาดการณ์ว่าจะมีการใช้รถยนต์อัตโนมัติระดับที่ 3 ในปี 2021 ดังนั้นจึงต้องมีการจัดทำระบบที่สามารถวิเคราะห์ข้อมูลการจราจรได้อย่างทันที

ที่มา : https://europe.autonews.com/automakers/bmw-tencent-will-open-computing-center-china-self-driving-cars

Toyota Motor said Friday it has agreed to develop electric vehicles with BYD, the Chinese leader in that field, aiming to roll out electric sedans and SUVs under the Toyota brand in China during the first half of the 2020s.The tie-up, which includes development of batteries for electrified vehicles, may also lead to joint production as China loosens restrictions on local manufacturing of environmentally friendly autos by foreign companies. For now, the electric vehicles likely will be manufactured at Chinese plants that Toyota already operates with two local partners.Japan's biggest automaker has been forming partnerships to make up for its slow entry into electric vehicles, as Volkswagen and other foreign rivals increasingly focus on EVs.BYD, which started as a battery manufacturer, sold roughly 250,000 electrified autos in 2018. In addition to batteries, the automaker develops motors in-house. It hopes to combine those strengths with Toyota's vehicle design expertise and production technologies.Toyota's partnership with BYD was prompted by China's move to strengthen environmental regulations in the world's largest auto market. Though hybrids may receive more favorable treatment than initially planned under the newest rules, automakers still will be required to manufacture a certain number of electrics.By bolstering its EV business, Toyota also hopes to make strides in the Chinese market, where its presence is weak compared with American and European rivals.Toyota plans to bring a mass-produced electric vehicle to market in 2020, expanding the lineup to 10 or more models in the first half of the 2020s.The automaker's other partnerships in this field include establishing a business in 2017 to develop technologies with companies such as Mazda Motor and components maker Denso. Toyota also intends to develop platforms with Subaru and release models under both of their brands in the first half of the 2020s.Toyota and Suzuki Motor have an EV partnership in India. And Toyota has joined forces with China's CATL as well as compatriots Toshiba and GS Yuasa in automotive batteries.Toyota said last month that it aims to boost sales of electrified vehicles to 5.5 million units in 2025, moving up the target date by five years.

Toyota กับ BYD ร่วมกัน พัฒนายานยนต์ไฟฟ้า

เมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา Toyota ประกาศจับมือกับผู้ผลิตยานยนต์ไฟฟ้า BYD ในประเทศจีน โดยเป้าหมายหลักคือพัฒนารถ Electric sedans และ รถ SUVs ภายใต้แบรนด์โตโยต้า โดยทั้งสองรุ่นเริ่มต้นการผลิตที่โรงงานในจีนเป็นหลัก BYD เริ่มต้นจากการที่พวกเขาเป็นบริษัทผลิตแบตเตอรี่ การร่วมมือกับ โตโยต้าที่เป็นบริษัทชั้นนำในการผลิตยานยนต์ การร่วมมือกันในครั้งนี้น่าจะเป็นการดึงจุดเด่นของทั้งสองบริษัทมาใช้ร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ โตโยต้าหวังว่าการเข้ามาลงทุนในจีนครั้งนี้จะเกิดความก้าวหน้าในตลาดได้ง่ายกว่าการที่ต้องไปต่อสู้ในตลาดอเมริกาหรือยุโรป จากนโยบายของรัฐบาลจีนในเรื่องการผลักดันเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม โดยโตโยต้าวางแผนว่าภายในปี 2020 พวกเขาจะสามารถผลิตรถยนต์พลังไฟฟ้าได้เพิ่มมากขึ้นอีก 10 รุ่น และมีเป้าหมายที่จะทำยอดขายให้มากถึง 5.5 ล้านคัน ภายในปี 2025

ที่มา : https://asia.nikkei.com/Spotlight/Electric-cars-in-China/Toyota-teams-with-BYD-on-electric-cars-for-China

เป็นเวลากว่า2ปีที่รัฐบาลได้จัดตั้งกองทุนสำหรับการผลิตยานยนต์ขับเคลื่อนไฟฟ้าภายในประเทศ โดยโครงการดังกล่าวได้สร้างกว่า 20-30 แอพพลิเคชั่นการลงทุน ซึ่งครอบคลุมไปถึงการประกอบรถยนต์, การผลิตชิ้นส่วนสำคัญ, และ สถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้า คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (Board of Investment : BOI) ได้ขยายแรงจูงใจในการลงทุนสำหรับผู้ร่วมลงทุน โดยจะพิจารณาเป็นพิเศษสำหรับการลงทุนในรถยนต์ Plug-in hybrid EV, รถยนต์แบตเตอรี่ EV, รถบัสไฟฟ้า, และชิ้นส่วนของยานยนต์ไฟฟ้าซึ่งมีมูลค่ากว่า 1.4 พันล้านบาท รวมถึงโครงการสถานีชาร์จไฟสำหรับรถยนต์ไฟฟ้า โดยเลขาธิการ BOI กล่าวว่า ทางสมาคมได้อนุมัติ9โครงการที่เกี่ยวกับรถยนต์ไฟฟ้า ซึ่งมีมูลค่ากว่า 5,100ล้านบาทสำหรับการประกอบรถยนต์ ประกอบด้วย โครงการเกี่ยวกับรถยนต์ hybrid EV 4 โครงการ เกี่ยวกับรถยนต์ Plug-in hybrid EV 4 โครงการ และโครงการแบตเตอรี่ EV 1 โครงการ Toyota และ Honda ได้ทำการเริ่มผลิตไปแล้วในไทย สำหรับโครงการ hybrid EV ในขณะที่ Mercedes Benz และ BMW ยังคงมีความสนใจกับ plug-in hybrid EV แบตเตอรี่ FOMM พร้อมสำหรับจำหน่ายในเชิงพาณิชย์ แต่ยอดขายยังไม่เป็นที่น่าพอใจเนื่องจากความแตกต่างกันของรุ่นแบตเตอรี่ในแต่ละรุ่นของรถยนต์โดยผู้ลงทุนจะต้องส่งหลักฐานการสมัครเข้าร่วมโครงการสำหรับรถยนต์ hybrid ในปี 2019 ในขณะที่การประกอบแบตเตอรี่สำหรับEV ยังคงต้องการเวลาภายในสามปี โดย BOI ต้องการให้ผู้ลงทุนสามารถผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ EV อย่างน้อย 1ชิ้นในปีแรก และเพิ่มขึ้นเป็น 4ชิ้น ในเวลา 3ปี โดยชิ้นส่วนที่จำเป็นได้แก่ แบตเตอรี่, มอเตอร์ลากจูง, หน่วยควบคุมการขับขี่, และ ระบบควบคุมแบตเตอรี่

ที่มา : หนังสือพิมพ์ Bangkok Post ฉบับวันที่ 22 กรกฎาคม 2562

ศูนย์สารสนเทศยานยนต์

ติดต่อ ศูนย์สารสนเทศยานยนต์ สถาบันยานยนต์

อาคารสำนักพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา (สพข.) ซ.ตรีมิตร กล้วยน้ำไท ถ.พระรามที่ 4 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110
โทรศัพท์: 0-2712-2414 ต่อ 6443
email : aiu@thaiauto.or.th