สมัครสมาชิกวันนี้

  • Silver
  • สมาชิกระดับ Silver
  • ฟรี
  • สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารขั้นพื้นฐานได้
  • ข้อมูลผู้ประกอบการต่างประเทศ
  • ข้อมูลสถิติในประเทศและต่างประเทศ
  • มาตรการทางการค้าระหว่างประเทศ
  • กฎ ระเบียบ นโยบายในประเทศ
  • เทคโนโลยี และงานวิจัย
  • สมัครสมาชิก
ข่าวสารยานยนต์
อ่านข่าวสารล่าสุด

ค้นหาข้อมูล

ความเคลื่อนไหวในอุตสาหกรรม

Renault has established a joint venture with state-owned Chinese automaker Jiangling Motors Group by agreeing to acquire a 50 percent stake in Jiangling Motors' electric vehicle subsidiary for 1 billion yuan ($145 million)."Through this joint venture, Groupe Renault will be able to expand its influence in China's electric vehicle market," the French automaker said Wednesday. Jingling Motors Group set up its EV subsidiary, Jiangling Motors Electric Vehicle Co., in the east China city of Nanchang in 2015. It sold 38,000 full-electric vehicles in 2017, ranking fifth among domestic EV makers, JMEV said on its website, without disclosing its 2018 sales. JMEV has become Renault's third vehicle production joint venture in China. Renault runs a car partnership with Dongfeng Motor Group in the central China city of Wuhan and a light commercial vehicle joint venture with Brilliance Jinbei Automobile Co. in the northeast China city of Shenyang. Jiangling Motors Group has a truck joint venture with Ford Motor Co. in Nanchang. 

Renault กับ Jiangling Motors ร่วมมือกันพัฒนารถ EV

Renault ได้ก่อตั้งการร่วมมือกันพัฒนารพยนต์พลังงานไฟฟ้าร่วมกับ Jiangling Motors ผู้ผลิตยานยนต์ภายใต้คำสั่งรัฐบาลจีน โดย Renault จะได้ส่วนแบ่งเป็น หุ้น 50% หรือแปลงเป็นเงินได้ประมาณ 145 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยการร่วมมือกันครั้งนี้ส่งผลให้ Renault สามารถเปิดตลาดรถยนต์ไฟฟ้าได้ที่จีน Jiangling Motors สร้างโรงงานสำหรับผลิตรถยนต์ไฟฟ้าตั้งแต่ปี 2015 และในปี 2017 Jiangling มียอดขายภายในประเทศสูงถึง อันดับที่ห้าของยอดขายรวมในประเทศ นอกจากที่ Renault จะร่วมมือกับ Jiangling แล้ว พวกเขายังร่วมมือกับ Dongfeng Motors ในการผลิต รถยนต์น้ำหนักเบาอีกด้วย

 

ที่มา: https://www.autonews.com/china/renault-forms-ev-joint-venture-jiangling-motors

Toyota Motor Corp. agreed to buy batteries from Contemporary Amperex Technology Co. as part of a broader partnership, the latest in a slew of tie-ups being forged as global automakers race to secure stable supplies for electric vehicles.The two companies are also discussing various topics ranging from the development of new technology to recycling, Toyota said in a statement Wednesday. The agreement, flagged last month, is a boon for China’s CATL, which competes with Toyota’s partner Panasonic Corp. for the industry lead. Terms of the accord weren’t disclosed.Global automakers are vying for access to vast amounts of batteries to power a growing number of electric vehicles amid capacity constraints and limited access to raw materials. For example, Volkswagen Group has been taking steps to secure enough batteries amid concerns it may not get what it needs from South Korea’s Samsung SDI Co. Daimler AG is betting that half of its global sales will be electric by 2030.“It is critical that Toyota partners with CATL in order to secure supplies of high quality, durable batteries,” said Tatsuo Yoshida, an analyst at Sawakami Asset Management. “The partnership is a natural move in the electrification of cars.”Toyota and Germany’s Volkswagen, the world’s two largest automakers, are seeking to leapfrog Tesla Inc. and Nissan Motor Co., maker of the best-selling Leaf electric vehicle. Volkswagen and Daimler have announced tens of billions of dollars in battery investments.But more work is needed. “CATL and Toyota agree that a stable supply of batteries is critical and that battery technology must be further developed and advanced,” Toyota said in the statement.After years of focusing on hybrid and fuel-cell technology, Toyota is embracing all-electric cars. The maker of the Prius is forecasting annual sales of 5.5 million EVs globally in 2025, after moving up its prior target by five years.The CATL deal will help Toyota diversify its supply. Toyota struck a battery deal with China’s BYD Co. and is said to be planning a joint venture next year with Panasonic, Tesla’s main battery supplier. Panasonic already provides lithium-ion cells for Toyota models including the plug-in Prius.Founded in 2011, CATL overtook Panasonic as the world’s largest supplier of EV batteries by sales in 2017 thanks to increasing domestic demand. It counts several Chinese automakers as well as BMW Group and VW as customers.It will be especially important to have a partner in China, Yoshida said. “The development of local production and consumption in China is critical,” he said.

โตโยต้า ตกลงซื้อแบตเตอรี่จากบริษัทสัญชาติจีน

Toyota Motor Corp. ตกลงที่จะซื้อแบตเตอรี่จาก Contemporary Amperex Technology Co. (CATL) เพื่อความมั่นคงในการผลิตยานยนต์ไฟฟ้า จึงจำเป็นที่จะจับมือเป็นพันธมิตร โดยเริ่มตั้งแต่การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่จนถึงการรีไซเคิลแบตเตอรี่ ผู้ผลิตยานยนต์ทั่วโลกกำลังจัดหาแบตเตอรี่ เพื่อลดข้อจำกัดการการขาดแคลนวัตถุดิบ ในการเพิ่มการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าที่มากขึ้น Toyota Motor Corp. และ Volkswagen ของเยอรมนี สองผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่ที่สุดของโลกกำลังหาทางที่จะก้าวกระโดดข้าม Tesla Inc. และ Nissan Motor Co. สองผู้ผลิตรถยนต์ไฟฟ้าที่ขายดีที่สุดในตอนนี้ โฟล์คสวาเกนและเดมเลอร์ได้ประกาศการลงทุนแบตเตอรี่เป็นหมื่นล้านดอลลาร์ CATL และ Toyota Motor Corp. ยอมรับว่าการจัดหาแบตเตอรี่ที่มั่นคงเป็นสิ่งสำคัญและเทคโนโลยีแบตเตอรี่นั้นจะต้องได้รับการพัฒนาและก้าวหน้าต่อไป” โตโยต้ากล่าวในแถลงการณ์ โดยข้อตกลงกับ CATL ช่วยให้ Toyota Motor Corp. กระจายการลงทุน หลังจากที่ทำข้อตกลงแบตเตอรี่กับบริษัท BYD ของจีนก่อนหน้านี้ และมีแผนว่าจะร่วมทุนในปีหน้ากับ Panasonic ซึ่งเป็นผู้จัดจำหน่ายแบตเตอรี่รายใหญ่ของเทสลา Panasonic  ได้จัดหาเซลล์ลิเธียมไอออนสำหรับรุ่นโตโยต้ารวมถึงปลั๊กอินพรีอุสแล้ว CATL ก่อตั้งขึ้นในปี 2554 และแซงหน้า Panasonic ในฐานะผู้ผลิตแบตเตอรี่ EV รายใหญ่ที่สุดของโลกในปี 2560 จากความต้องการของตลาดภายในประเทศจีนที่เพิ่มขึ้น มันเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งสำหรับ Toyota Motor Corp. ที่จะมีหุ้นส่วนในประเทศจีน “การพัฒนาการผลิตและการบริโภคในประเทศจีนนั้นสำคัญมาก” โยชิดะ, นักวิเคราะห์ จาก Sawakami Asset Management Inc. กล่าว

ที่มา: Automotive News China

ภายใต้การบริหารประเทศของ “นเรนทรา โมดี” ในสมัยที่2 ยังมุ่งมั่นที่การยกระดับโครงสร้างพื้นฐาน ระบบสาธารณูปโภค การสร้างงาน และเดินหน้าอุตสาหกรรมรถยนต์ไฟฟ้าอย่างจริงจัง เป็นแผนกระตุ้นเศรษฐกิจของอินเดียให้มีมูลค่าสูงถึง 5ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ภายในปี 2025 จากปัจจุบันมูลค่าปัจจุบัน 3ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ เมื่อ 5 ก.ค.ที่ผ่านมา “นีร์มาลา สิทรารามาน” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอินเดีย ได้แถลงงบประมาณ ประจำปี 2019 ต่อรัฐสภา โดยได้จัดตั้งงบประมาณมูลค่าเกือบ 150,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในแผนพัฒนาระยะ 5-10 ปี วึ่งการลงทุนจะครอบคลุมตั้งแต่สนามบิน รถไฟ รวมถึงการสร้างถนนในพื้นที่ห่างไกลเพิ่มอีก 125,000 กิโลเมตร เพื่ออำนวยความสะดวกต่อเกษตรกรสำหรับการนำสินค้าเกษตรออกมาขายในจุดต่างๆทั่วประเทศได้ง่ายขึ้น พร้อมกับแผนการยกระดับคุณภาพ “เส้นทางรถไฟ” เชื่อมต่อด้วยระบบเทคโนโลยีสมัยใหม่ รวมถึงศึกษาขยายเส้นทางรถไฟให้เชื่อมโยงกันทั่วประเทศ โดยได้จัดตั้งงบประมาณยกเครื่องเส้นทางรถไฟอยู่ที่ 73,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐภายในปี 2030 และที่น่าสนใจคือรัฐบาลอินเดีย ให้ความสำคัญกับการผลักดัน “อุตสาหกรรมรถยนตืไฟฟ้า” อย่างจริงจังโดยเบื้องต้นได้จัดตั้งงบประมาน 1,500 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับรถยนต์ไฟฟ้าเช่นสถานีชาร์จไฟฟ้าและ เทคโนโลยีสำหรับแบตเตอรี่รถยนต์ รวมถึงเตรียมลดภาษีเงินได้ 150,000 รูปี หรือราว 2,185 ดอลลาร์สหรัฐให้กับประชาชนที่ต้องจ่ายดอกเบี้ยเงินกู้เพื่อซื้อนรถยนต์ไฟฟ้า เพื่อกระตุ้นดีมานด์การใช้รถยนต์ไฟฟ้าในประเทศอินเดียมากขึ้น โดยในปี 2017-2018 ยอดจำหน่ายรถยนต์ไฟฟ้าในอินเดีย เฉลี่ยเพียง 2,000 คันต่อปีเท่านั้น “ปุณีต คุปตะ” ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายวิจัยตลาดรถยนต์ บริษัท IHS Markit กล่าวว่า นโยบายสนับสนุนผู้ซื้อรถยนต์ไฟฟ้าของของรัฐบาลอินเดียนั้น จะช่วยสร้างดีมานด์ในตลาดรถยนต์ไฟฟ้าของอินเดียได้ดีขึ้น เพราะปัจจุบันคนอินเดียยังนิยมซื้อรถยนต์ขนาดเล็กที่มีราคาถูกเป็นส่วนใหญ่ โดยปี 2018 ยอดขายรถยนต์ขนาดเล็ก รวมถึงรถ SUV รถบรรทุกขนาดเล็ก และ รถยนต์ส่วนบุคคลมีจำนวนมากกว่า 4 ล้านคัน นอกจากนี้รัฐบาลยังเตรียมที่จะลดภาษีสินค้าและบริการ (GST) ของรถยนต์ไฟฟ้า และเพิ่มภาษีรถยนต์เชื้อเพลิงสันดาป อย่างไรก็ตามเมื่อ สัปดาห์ที่ผ่านมาสมาชิกหลายพันคนของสมาคมรถไฟฟ้าริกชอว์ หรือ รถสามล้อไฟฟ้าได้เข้าเรียกร้องกับรัฐบาลให้ช่วยเหลือในงบประมานการพัฒนารถไฟฟ้าริกชอว์ เพื่อนำมาแทนที่รถสามล้อเครื่องในปัจจุบัน เนื่องจาก รถสามล้อเครื่องนั้นถือเป็นสิ่งที่จำเป็นต่อวิถีการใช้ชีวิตของคนอินเดีย เมื่อปลายปี 2018 กระทรวงคมนาคมขนส่งอินเดีย เปิดเผยว่ารัฐบาลกำลังพิจารณาที่จะห้าม “รถสามล้อเครื่อง” ให้บริการในหลายเมือง ที่ติดโผว่าค่ามลพิษอากาศอยู่ในระดับอันตราย โดยทางการนิวเดลี กล่าวว่าสามล้อเครื่องถือเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทำให้อากาศในหลายเมืองของอินเดียอยู่ในสภาพที่เป็นอันตราย “ราจ เจงกาปา” นักวิเคราะห์ ตลาดรถยนต์ของอินเดีย ทูเดย์มองว่า การกระตุ้นให้เกิดการใช้รถยนต์ไฟฟ้าของ รัฐบาลอาจจะแก้ปัญหามลพิษทางอากาศแต่ไม่แก้ปัญหาการจราจร ซึ่งอินเดียถือเป็นประเทศที่มีการจราจรวุ่นวาย ติดอันดับ 1 ใน 10 ของประเทศ รัฐบาลควรสนับสนุนการพัฒนารถไฟฟ้าริกชอว์มากกว่าการห้ามใช้งาน เพราะ จะทำให้อัตราการว่างงานในอินเดียนั้นเพื่มสูงขึ้น ซึ่งอาจจะกลายเป็นปัญหาเรื้อรังได้

ที่มา : หนังสือพิมพ์ ประชาชาติธุรกิจ ฉบับวันที่ 18 กรกฎาคม 2562

ภายใต้การบริหารประเทศของ “นเรนทรา โมดี” ในสมัยที่2 ยังมุ่งมั่นที่การยกระดับโครงสร้างพื้นฐาน ระบบสาธารณูปโภค การสร้างงาน และเดินหน้าอุตสาหกรรมรถยนต์ไฟฟ้าอย่างจริงจัง เป็นแผนกระตุ้นเศรษฐกิจของอินเดียให้มีมูลค่าสูงถึง 5ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ภายในปี 2025 จากปัจจุบันมูลค่าปัจจุบัน 3ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ เมื่อ 5 ก.ค.ที่ผ่านมา “นีร์มาลา สิทรารามาน” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอินเดีย ได้แถลงงบประมาณ ประจำปี 2019 ต่อรัฐสภา โดยได้จัดตั้งงบประมาณมูลค่าเกือบ 150,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในแผนพัฒนาระยะ 5-10 ปี วึ่งการลงทุนจะครอบคลุมตั้งแต่สนามบิน รถไฟ รวมถึงการสร้างถนนในพื้นที่ห่างไกลเพิ่มอีก 125,000 กิโลเมตร เพื่ออำนวยความสะดวกต่อเกษตรกรสำหรับการนำสินค้าเกษตรออกมาขายในจุดต่างๆทั่วประเทศได้ง่ายขึ้น พร้อมกับแผนการยกระดับคุณภาพ “เส้นทางรถไฟ” เชื่อมต่อด้วยระบบเทคโนโลยีสมัยใหม่ รวมถึงศึกษาขยายเส้นทางรถไฟให้เชื่อมโยงกันทั่วประเทศ โดยได้จัดตั้งงบประมาณยกเครื่องเส้นทางรถไฟอยู่ที่ 73,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐภายในปี 2030 และที่น่าสนใจคือรัฐบาลอินเดีย ให้ความสำคัญกับการผลักดัน “อุตสาหกรรมรถยนตืไฟฟ้า” อย่างจริงจังโดยเบื้องต้นได้จัดตั้งงบประมาน 1,500 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับรถยนต์ไฟฟ้าเช่นสถานีชาร์จไฟฟ้าและ เทคโนโลยีสำหรับแบตเตอรี่รถยนต์ รวมถึงเตรียมลดภาษีเงินได้ 150,000 รูปี หรือราว 2,185 ดอลลาร์สหรัฐให้กับประชาชนที่ต้องจ่ายดอกเบี้ยเงินกู้เพื่อซื้อนรถยนต์ไฟฟ้า เพื่อกระตุ้นดีมานด์การใช้รถยนต์ไฟฟ้าในประเทศอินเดียมากขึ้น โดยในปี 2017-2018 ยอดจำหน่ายรถยนต์ไฟฟ้าในอินเดีย เฉลี่ยเพียง 2,000 คันต่อปีเท่านั้น “ปุณีต คุปตะ” ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายวิจัยตลาดรถยนต์ บริษัท IHS Markit กล่าวว่า นโยบายสนับสนุนผู้ซื้อรถยนต์ไฟฟ้าของของรัฐบาลอินเดียนั้น จะช่วยสร้างดีมานด์ในตลาดรถยนต์ไฟฟ้าของอินเดียได้ดีขึ้น เพราะปัจจุบันคนอินเดียยังนิยมซื้อรถยนต์ขนาดเล็กที่มีราคาถูกเป็นส่วนใหญ่ โดยปี 2018 ยอดขายรถยนต์ขนาดเล็ก รวมถึงรถ SUV รถบรรทุกขนาดเล็ก และ รถยนต์ส่วนบุคคลมีจำนวนมากกว่า 4 ล้านคัน นอกจากนี้รัฐบาลยังเตรียมที่จะลดภาษีสินค้าและบริการ (GST) ของรถยนต์ไฟฟ้า และเพิ่มภาษีรถยนต์เชื้อเพลิงสันดาป อย่างไรก็ตามเมื่อ สัปดาห์ที่ผ่านมาสมาชิกหลายพันคนของสมาคมรถไฟฟ้าริกชอว์ หรือ รถสามล้อไฟฟ้าได้เข้าเรียกร้องกับรัฐบาลให้ช่วยเหลือในงบประมานการพัฒนารถไฟฟ้าริกชอว์ เพื่อนำมาแทนที่รถสามล้อเครื่องในปัจจุบัน เนื่องจาก รถสามล้อเครื่องนั้นถือเป็นสิ่งที่จำเป็นต่อวิถีการใช้ชีวิตของคนอินเดีย เมื่อปลายปี 2018 กระทรวงคมนาคมขนส่งอินเดีย เปิดเผยว่ารัฐบาลกำลังพิจารณาที่จะห้าม “รถสามล้อเครื่อง” ให้บริการในหลายเมือง ที่ติดโผว่าค่ามลพิษอากาศอยู่ในระดับอันตราย โดยทางการนิวเดลี กล่าวว่าสามล้อเครื่องถือเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทำให้อากาศในหลายเมืองของอินเดียอยู่ในสภาพที่เป็นอันตราย “ราจ เจงกาปา” นักวิเคราะห์ ตลาดรถยนต์ของอินเดีย ทูเดย์มองว่า การกระตุ้นให้เกิดการใช้รถยนต์ไฟฟ้าของ รัฐบาลอาจจะแก้ปัญหามลพิษทางอากาศแต่ไม่แก้ปัญหาการจราจร ซึ่งอินเดียถือเป็นประเทศที่มีการจราจรวุ่นวาย ติดอันดับ 1 ใน 10 ของประเทศ รัฐบาลควรสนับสนุนการพัฒนารถไฟฟ้าริกชอว์มากกว่าการห้ามใช้งาน เพราะ จะทำให้อัตราการว่างงานในอินเดียนั้นเพื่มสูงขึ้น ซึ่งอาจจะกลายเป็นปัญหาเรื้อรังได้

ที่มา : หนังสือพิมพ์ ประชาชาติธุรกิจ ฉบับวันที่ 18 กรกฎาคม 2562

ฟอร์ด มอเตอร์ คอมปานี และโฟล์คสวาเกนกรุ๊ป ประกาศขยายความร่วมมือเป็นพันธมิตรระดับโลกในการพัฒนารถยนต์ไฟฟ้า และจะร่วมมือกับอาร์โก เอไอ เพื่อเปิดตัวเทคโนโลยีรถยนต์ไร้คนขับในสหรัฐอเมริกา และยุโรป เพื่อให้ทั้งสองบริษัทสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน รวมถึงการบริหารต้นทุนและค่าใช้จ่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพดร.เฮอร์เบิร์ท ไดส์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารโฟล์คสวาเกน และ ดร.จิม แฮคเก็ต ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฟอร์ด มอเตอร์ คอมปานี พร้อมด้วย ดร.ไบรอัน เชลสกี้ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร อาร์โก เอไอ ประกาศว่า โฟล์คสวาเกนจะร่วมมือกับฟอร์ดในการลงทุนกับอาร์โก เอไอ บริษัทแพลทฟอร์มเทคโนโลยีรถไร้คนขับจากความร่วมมือระหว่างฟอร์ดและโฟล์คสวาเกน ระบบขับเคลื่อนอัตโนมัติ (SDS) ของอาร์โก เอไอ จะเป็นจุดเริ่มต้นของการรุกตลาดยุโรป และอเมริกา นอกจากนั้นแพลตฟอร์มของอาร์โก เอไอ ที่สามารถเข้าถึงตลาดผ่านเครือข่ายทั่วโลกของผู้ผลิตรถยนต์ ยังมีศักยภาพในการขยายเทคโนโลยีขับเคลื่อนอัตโนมัติให้ครอบคลุมพื้นที่ได้กว้างขวางสุดในปัจจุบัน โฟล์คสวาเกน และฟอร์ด ต่างก็จะนำระบบขับเคลื่อนอัตโนมัติดังกล่าวมาใช้กับรถที่ผลิตขึ้นมาเพื่อการนี้โดยเฉพาะ เพื่อสนับสนุนการนำร่องการขนย้ายคนและสินค้าทั้งสองของบริษัทบรรดาผู้นำได้ประกาศว่า ฟอร์ดจะเป็นบริษัทผู้ผลิตรถยนต์รายแรกที่ได้ใช้การออกแบบรถยนต์ไฟฟ้าและโมดูลรถยนต์ไฟฟ้า (Modular Electric Toolkit หรือ MEB) ของโฟล์คสวาเกน เพื่อส่งมอบรถไร้มลพิษในปริมาณมากให้กับตลาดยุโรป ตั้งแต่ปี 2566 เป็นต้นไป อาร์โก เอไอ วางแผนที่จะทำงานร่วมกับฟอร์ดและโฟล์คสวาเกนอย่างใกล้ชิดในการพัฒนาเทคโนโลยีรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติให้แก่ผู้ผลิตรถยนต์ที่จำเป็นในการส่งมอบรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติที่สามารถผลิตได้ในจำนวนมาก เพื่อให้การพัฒนารถเพื่อการแบ่งปันการใช้บริการ และบริการส่งสินค้ามีความปลอดภัย น่าเชื่อถือ และทนทาน

ที่มา : หนังสือพิมพ์ สยามกีฬา ฉบับวันที่ 17 กรกฎาคม 2562

ฟอร์ด มอเตอร์ คอมปานี และโฟล์คสวาเกนกรุ๊ป ประกาศขยายความร่วมมือเป็นพันธมิตรระดับโลกในการพัฒนารถยนต์ไฟฟ้า และจะร่วมมือกับอาร์โก เอไอ เพื่อเปิดตัวเทคโนโลยีรถยนต์ไร้คนขับในสหรัฐอเมริกา และยุโรป เพื่อให้ทั้งสองบริษัทสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน รวมถึงการบริหารต้นทุนและค่าใช้จ่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพดร.เฮอร์เบิร์ท ไดส์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารโฟล์คสวาเกน และ ดร.จิม แฮคเก็ต ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฟอร์ด มอเตอร์ คอมปานี พร้อมด้วย ดร.ไบรอัน เชลสกี้ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร อาร์โก เอไอ ประกาศว่า โฟล์คสวาเกนจะร่วมมือกับฟอร์ดในการลงทุนกับอาร์โก เอไอ บริษัทแพลทฟอร์มเทคโนโลยีรถไร้คนขับจากความร่วมมือระหว่างฟอร์ดและโฟล์คสวาเกน ระบบขับเคลื่อนอัตโนมัติ (SDS) ของอาร์โก เอไอ จะเป็นจุดเริ่มต้นของการรุกตลาดยุโรป และอเมริกา นอกจากนั้นแพลตฟอร์มของอาร์โก เอไอ ที่สามารถเข้าถึงตลาดผ่านเครือข่ายทั่วโลกของผู้ผลิตรถยนต์ ยังมีศักยภาพในการขยายเทคโนโลยีขับเคลื่อนอัตโนมัติให้ครอบคลุมพื้นที่ได้กว้างขวางสุดในปัจจุบัน โฟล์คสวาเกน และฟอร์ด ต่างก็จะนำระบบขับเคลื่อนอัตโนมัติดังกล่าวมาใช้กับรถที่ผลิตขึ้นมาเพื่อการนี้โดยเฉพาะ เพื่อสนับสนุนการนำร่องการขนย้ายคนและสินค้าทั้งสองของบริษัทบรรดาผู้นำได้ประกาศว่า ฟอร์ดจะเป็นบริษัทผู้ผลิตรถยนต์รายแรกที่ได้ใช้การออกแบบรถยนต์ไฟฟ้าและโมดูลรถยนต์ไฟฟ้า (Modular Electric Toolkit หรือ MEB) ของโฟล์คสวาเกน เพื่อส่งมอบรถไร้มลพิษในปริมาณมากให้กับตลาดยุโรป ตั้งแต่ปี 2566 เป็นต้นไป อาร์โก เอไอ วางแผนที่จะทำงานร่วมกับฟอร์ดและโฟล์คสวาเกนอย่างใกล้ชิดในการพัฒนาเทคโนโลยีรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติให้แก่ผู้ผลิตรถยนต์ที่จำเป็นในการส่งมอบรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติที่สามารถผลิตได้ในจำนวนมาก เพื่อให้การพัฒนารถเพื่อการแบ่งปันการใช้บริการ และบริการส่งสินค้ามีความปลอดภัย น่าเชื่อถือ และทนทาน

ที่มา : หนังสือพิมพ์ สยามกีฬา ฉบับวันที่ 17 กรกฎาคม 2562

นิสสันเผยวิสัยทัศน์อนาคตของการขับขี่ในภูมิภาคเอเชียเนีย ซึ่งจะขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า การเชื่อมต่อ และการขับขี่ที่ไร้คนขับมากขึ้น ในงาน iEVTech 2019 งานประชุมเชิงวิชาการและนิทรรศการเทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้านานาชาติ ครั้งที่ 4 นอกจากนี้ยังได้ร่วมแชร์บทบาทของนิสสันในการสร้างเมืองอัจฉริยะเพื่ออนาคตที่ยั่งยืนทั่วทั้งเอเชีย วินเซนต์ ไวจ์เนน รองประธานอาวุโสฝ่ายขายและการตลาด นิสสัน เอเซียและโอเชียเนีย และปีเตอร์ แกลลี รองประธาน สายงานสื่อสารองค์กร นิสสัน มอเตอร์ ประเทศไทย ร่วมบรรยายถึงบทบาทของรถยนต์ไฟฟ้าที่มีความสำคัญและเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของภูมิภาค พร้อมให้ความรู้และไขข้อสงสัย ตลอดจนสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับรถยนต์ไฟฟ้าอีกด้วย การขยายตัวของเมืองใหญ่ในเอเชียแปซิฟิกทำให้เกิดปัญหามลพิษซึ่งเป็นปัญหาสำคัญที่เราต้องหันมาให้ความสำคัญเพิ่มมากขึ้น ความต้องการในการขับรถยนต์ที่กำลังเปลี่ยนไปในเมืองใหญ่ของอาเซียนในอนาคต โดยนิสสันเชื่อมั่นว่ารถยนต์ไฟฟ้าที่ไร้มลพิษอย่างนิสสัน ลีฟ ใหม่ มีศักยภาพในการช่วยแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมให้กับประเทศไทยและทั่วภูมิภาคนี้ นิสสัน ประเทศไทย เดินหน้าประกาศความร่วมมือเพื่อสนับสนุนการสร้างระบบนิเวศยานยนต์ไฟฟ้าที่ยั่งยืนร่วมกับหลายหน่วยงานในประเทศไทย

ที่มา : หนังสือพิมพ์ ไทยโพสต์ ฉบับวันที่ 16 กรกฎาคม 2562

                นิสสันเผยวิสัยทัศน์อนาคตของการขับขี่ในภูมิภาคเอเชียเนีย ซึ่งจะขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า การเชื่อมต่อ และการขับขี่ที่ไร้คนขับมากขึ้น ในงาน iEVTech 2019 งานประชุมเชิงวิชาการและนิทรรศการเทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้านานาชาติ ครั้งที่ 4 นอกจากนี้ยังได้ร่วมแชร์บทบาทของนิสสันในการสร้างเมืองอัจฉริยะเพื่ออนาคตที่ยั่งยืนทั่วทั้งเอเชีย วินเซนต์ ไวจ์เนน รองประธานอาวุโสฝ่ายขายและการตลาด นิสสัน เอเซียและโอเชียเนีย และปีเตอร์ แกลลี รองประธาน สายงานสื่อสารองค์กร นิสสัน มอเตอร์ ประเทศไทย ร่วมบรรยายถึงบทบาทของรถยนต์ไฟฟ้าที่มีความสำคัญและเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของภูมิภาค พร้อมให้ความรู้และไขข้อสงสัย ตลอดจนสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับรถยนต์ไฟฟ้าอีกด้วย การขยายตัวของเมืองใหญ่ในเอเชียแปซิฟิกทำให้เกิดปัญหามลพิษซึ่งเป็นปัญหาสำคัญที่เราต้องหันมาให้ความสำคัญเพิ่มมากขึ้น ความต้องการในการขับรถยนต์ที่กำลังเปลี่ยนไปในเมืองใหญ่ของอาเซียนในอนาคต โดยนิสสันเชื่อมั่นว่ารถยนต์ไฟฟ้าที่ไร้มลพิษอย่างนิสสัน ลีฟ ใหม่ มีศักยภาพในการช่วยแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมให้กับประเทศไทยและทั่วภูมิภาคนี้ นิสสัน ประเทศไทย เดินหน้าประกาศความร่วมมือเพื่อสนับสนุนการสร้างระบบนิเวศยานยนต์ไฟฟ้าที่ยั่งยืนร่วมกับหลายหน่วยงานในประเทศไทย

ที่มา : หนังสือพิมพ์ ไทยโพสต์ ฉบับวันที่ 16 กรกฎาคม 2562

บริษัท เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จำกัด ตอกย้ำภาพลักษณ์ผู้นำในกลุ่มรถยนต์สมรรถนะสูง จัดกิจกรรม “เอเอ็มจี ไดรฟ์วิ่ง อะคาเดมี” (AMG Driving Academy) ฝึกอบรมขับขี่รถยนต์สมถรรณะสูงครั้งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เรียนรู้เทคนิคการขับขี่โดยทีมผู้ฝึกสอนมืออาชีพจากเมอร์เซเดส-เอเอ็มจี ดีกรีแชมป์การแข่งขันมอเตอร์สปอร์ตระดับโลก และเบิร์น ชไนเดอร์ แบรนด์แอมบาสซาเดอร์ของเมอร์เซเดส-เอเอ็มจี นักแข่งเมืองเบียร์ เจ้าของตำแหน่งแชมป์ DTM 5 สมัย และแชมป์ 2 สมัยจากสนามนูร์เบอร์กริง พร้อมสัมผัสสมถรรณะรถยนต์สปอร์ตสายพันธุ์แรง ภายใต้แบรนด์ เมอเซเดส-เอเอ็มจี ยึดถือหลักการสร้างสรรค์รถยนต์ที่สามารถ “ขับเคลื่อนทุกสมถรรณะ Driving Performance” เป็นหัวใจหลักของแบรนด์รถสปอร์ตระดับแนวหน้าของโลกที่โดดเด่นทั้งในด้านกีฬามอเตอร์สปอร์ต และด้านการพัฒนารถยนต์ที่มีเอกลักษณ์ โดยในปีที่ผ่านมามียอดจำหน่ายทั่วโลกสูงถึง 609,000 คัน ส่วนประเทศไทยได้การตอบรับที่ดี เช่นกัน ยอดขายพุ่งสูงขึ้นเป็นลำดับโดยในปี พ.ศ. 2561 มียอดขายเติบโตจากปีก่อนหน้าขึ้นถึง 309% มีครอสฝึกอบรมทั้งหมด 6 สถานี โดยจะให้ความรู้และทักษะขับขี่ สามารถเอามาใช้ในการขับขี่รถประจำวันได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะ เทคโนโลยีวิศวกรจับยัดเข้าไปในรถทุกคัน เพื่อความปลอดภัยของลูกค้า

ที่มา : หนังสือพิมพ์ ประชาชาติธุรกิจ ฉบับวันที่ 15 กรกฎาคม 2562

ศูนย์สารสนเทศยานยนต์

ติดต่อ ศูนย์สารสนเทศยานยนต์ สถาบันยานยนต์

อาคารสำนักพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา (สพข.) ซ.ตรีมิตร กล้วยน้ำไท ถ.พระรามที่ 4 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110
โทรศัพท์: 0-2712-2414 ต่อ 6443
email : aiu@thaiauto.or.th