โดยทางบริษัทโตโยต้ามอเตอร์ ได้ประกาศระงับการผลิตในบางส่วนที่ได้มีการร่วมลงทุนกับประเทศจีน ในขณะที่ส่วนอื่นยังมีการผลิตตามปกติ โดยเหตุผลในการระงับครั้งนี้เพื่อปรับปรุงระบบการผลิตโดยจะพิจารณา
เมื่อเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา Aleksandar Vucic ประธานาธิบดีประเทศเซอร์เบียได้กล่าวแสดงความคาดหวังว่าผู้ผลิตรถยนต์อย่าง Stellantis จะใช้เมือง Kragujevac ในการเป็นฐานการผลิตรถยนต์ไฟฟ้ารุ่น Fiat Panda
บริษัท โตโยต้ามอเตอร์ คาดว่าจะมีการผลิตยานยนต์เพิ่มขึ้นมากกว่า 20% ของยอดขายรถยนต์คันใหม่ภายในภูมิภาคดังกล่าว ซึ่งทางผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่ของโลกได้มีการคาดการณ์ภายในปี ค.ศ. 2026 นั้น
เมอร์เซเดส-เบนซ์ ผู้ผลิตรถหรูจากเยอรมนีระบุว่า บริษัทได้บรรลุข้อตกลงกับบีเอ็มดับเบิลยู (BMW) ในการจัดตั้งบริษัทร่วมทุนเพื่อดำเนินการเครือข่ายสถานีชาร์จพลังงานไฟฟ้าสมรรถนะสูงในจีน โดยคาดว่า
ยอดขายรถยนต์ใหม่ของสหภาพยุโรปจะเพิ่มขึ้นเพียง 2.5% ในปี 2024 ซึ่งชะลอตัวลงเมื่อเทียบกับปี 2023 ที่เพิ่มขึ้น 12% โดยสมาคมผู้ผลิตรถยนต์แห่งยุโรป ACEA คาดการณ์ว่า ส่วนแบ่งของยานพาหนะไฟฟ้าจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จากการคาดการณ์ปี 2023
ผู้ผลิตรถยนต์สัญชาติจีน Nio และ Zhejiang Geely Holding Group ได้ลงนามข้อตกลงความร่วมมือเชิงกลยุทธ์เกี่ยวกับสถานีสลับแบตเตอรี่ ซึ่งจะเป็นการทำงานร่วมกันในเรื่องมาตรฐาน เทคโนโลยี และการพัฒนาโมเดล
BYD ผู้ผลิตรถยนต์ไฟฟ้าปลั๊กอินรายใหญ่ที่สุดของโลก เฉลิมฉลองการผลิตรถยนต์พลังงานใหม่ครบ 6 ล้านคัน ซึ่งยังไม่มีผู้ผลิตรายอื่นผลิตรถยนต์แบบชาร์จไฟได้ 6 ล้านคัน ในขณะเดียวกัน BYD ก็ผลิตล้านล่าสุดได้ในเวลาเพียงสามเดือนกว่า
โนริอากิ ยามาชิตะ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ประเทศไทย เปิดเผยว่า ได้เข้าพบนายกรัฐมนตรีนายเศรษฐา ทวีสิน ก่อนหน้านี้ หารือใน 2 ประเด็นหลัก คือ 1) ขณะนี้ไทยมีความต้องการใช้รถยนต์ที่มีพลังงานทางเลือกที่หลากหลาย นอกเหนือจากรถยนต์ไฟฟ้า เพราะยังมีรถ HEV, PHEV, BEV
นิสสัน มอเตอร์ วางแผนที่จะลดประเภทเครื่องยนต์ลง 60% สำหรับรถยนต์ที่จะเปิดตัวในปี 2028 หรือหลังจากนั้น เนื่องจากบริษัทมุ่งเน้นไปที่รถขนาดเล็กและรถยนต์ไฮบริด (HEV) ซึ่งจะหยุดการพัฒนาเครื่องยนต์ที่ใช้น้ำมันเบนซินเท่านั้น