Toyota Motor Corp. agreed to buy batteries from Contemporary Amperex Technology Co. as part of a broader partnership, the latest in a slew of tie-ups being forged as global automakers race to secure stable supplies for electric vehicles.The two companies are also discussing various topics ranging from the development of new technology to recycling, Toyota said in a statement Wednesday. The agreement, flagged last month, is a boon for China’s CATL, which competes with Toyota’s partner Panasonic Corp. for the industry lead. Terms of the accord weren’t disclosed.Global automakers are vying for access to vast amounts of batteries to power a growing number of electric vehicles amid capacity constraints and limited access to raw materials. For example, Volkswagen Group has been taking steps to secure enough batteries amid concerns it may not get what it needs from South Korea’s Samsung SDI Co. Daimler AG is betting that half of its global sales will be electric by 2030.“It is critical that Toyota partners with CATL in order to secure supplies of high quality, durable batteries,” said Tatsuo Yoshida, an analyst at Sawakami Asset Management. “The partnership is a natural move in the electrification of cars.”Toyota and Germany’s Volkswagen, the world’s two largest automakers, are seeking to leapfrog Tesla Inc. and Nissan Motor Co., maker of the best-selling Leaf electric vehicle. Volkswagen and Daimler have announced tens of billions of dollars in battery investments.But more work is needed. “CATL and Toyota agree that a stable supply of batteries is critical and that battery technology must be further developed and advanced,” Toyota said in the statement.After years of focusing on hybrid and fuel-cell technology, Toyota is embracing all-electric cars. The maker of the Prius is forecasting annual sales of 5.5 million EVs globally in 2025, after moving up its prior target by five years.The CATL deal will help Toyota diversify its supply. Toyota struck a battery deal with China’s BYD Co. and is said to be planning a joint venture next year with Panasonic, Tesla’s main battery supplier. Panasonic already provides lithium-ion cells for Toyota models including the plug-in Prius.Founded in 2011, CATL overtook Panasonic as the world’s largest supplier of EV batteries by sales in 2017 thanks to increasing domestic demand. It counts several Chinese automakers as well as BMW Group and VW as customers.It will be especially important to have a partner in China, Yoshida said. “The development of local production and consumption in China is critical,” he said.
โตโยต้า ตกลงซื้อแบตเตอรี่จากบริษัทสัญชาติจีน
Toyota Motor Corp. ตกลงที่จะซื้อแบตเตอรี่จาก Contemporary Amperex Technology Co. (CATL) เพื่อความมั่นคงในการผลิตยานยนต์ไฟฟ้า จึงจำเป็นที่จะจับมือเป็นพันธมิตร โดยเริ่มตั้งแต่การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่จนถึงการรีไซเคิลแบตเตอรี่ ผู้ผลิตยานยนต์ทั่วโลกกำลังจัดหาแบตเตอรี่ เพื่อลดข้อจำกัดการการขาดแคลนวัตถุดิบ ในการเพิ่มการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าที่มากขึ้น Toyota Motor Corp. และ Volkswagen ของเยอรมนี สองผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่ที่สุดของโลกกำลังหาทางที่จะก้าวกระโดดข้าม Tesla Inc. และ Nissan Motor Co. สองผู้ผลิตรถยนต์ไฟฟ้าที่ขายดีที่สุดในตอนนี้ โฟล์คสวาเกนและเดมเลอร์ได้ประกาศการลงทุนแบตเตอรี่เป็นหมื่นล้านดอลลาร์ CATL และ Toyota Motor Corp. ยอมรับว่าการจัดหาแบตเตอรี่ที่มั่นคงเป็นสิ่งสำคัญและเทคโนโลยีแบตเตอรี่นั้นจะต้องได้รับการพัฒนาและก้าวหน้าต่อไป” โตโยต้ากล่าวในแถลงการณ์ โดยข้อตกลงกับ CATL ช่วยให้ Toyota Motor Corp. กระจายการลงทุน หลังจากที่ทำข้อตกลงแบตเตอรี่กับบริษัท BYD ของจีนก่อนหน้านี้ และมีแผนว่าจะร่วมทุนในปีหน้ากับ Panasonic ซึ่งเป็นผู้จัดจำหน่ายแบตเตอรี่รายใหญ่ของเทสลา Panasonic ได้จัดหาเซลล์ลิเธียมไอออนสำหรับรุ่นโตโยต้ารวมถึงปลั๊กอินพรีอุสแล้ว CATL ก่อตั้งขึ้นในปี 2554 และแซงหน้า Panasonic ในฐานะผู้ผลิตแบตเตอรี่ EV รายใหญ่ที่สุดของโลกในปี 2560 จากความต้องการของตลาดภายในประเทศจีนที่เพิ่มขึ้น มันเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งสำหรับ Toyota Motor Corp. ที่จะมีหุ้นส่วนในประเทศจีน “การพัฒนาการผลิตและการบริโภคในประเทศจีนนั้นสำคัญมาก” โยชิดะ, นักวิเคราะห์ จาก Sawakami Asset Management Inc. กล่าว
ที่มา: Automotive News China
ภายใต้การบริหารประเทศของ “นเรนทรา โมดี” ในสมัยที่2 ยังมุ่งมั่นที่การยกระดับโครงสร้างพื้นฐาน ระบบสาธารณูปโภค การสร้างงาน และเดินหน้าอุตสาหกรรมรถยนต์ไฟฟ้าอย่างจริงจัง เป็นแผนกระตุ้นเศรษฐกิจของอินเดียให้มีมูลค่าสูงถึง 5ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ภายในปี 2025 จากปัจจุบันมูลค่าปัจจุบัน 3ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ เมื่อ 5 ก.ค.ที่ผ่านมา “นีร์มาลา สิทรารามาน” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอินเดีย ได้แถลงงบประมาณ ประจำปี 2019 ต่อรัฐสภา โดยได้จัดตั้งงบประมาณมูลค่าเกือบ 150,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในแผนพัฒนาระยะ 5-10 ปี วึ่งการลงทุนจะครอบคลุมตั้งแต่สนามบิน รถไฟ รวมถึงการสร้างถนนในพื้นที่ห่างไกลเพิ่มอีก 125,000 กิโลเมตร เพื่ออำนวยความสะดวกต่อเกษตรกรสำหรับการนำสินค้าเกษตรออกมาขายในจุดต่างๆทั่วประเทศได้ง่ายขึ้น พร้อมกับแผนการยกระดับคุณภาพ “เส้นทางรถไฟ” เชื่อมต่อด้วยระบบเทคโนโลยีสมัยใหม่ รวมถึงศึกษาขยายเส้นทางรถไฟให้เชื่อมโยงกันทั่วประเทศ โดยได้จัดตั้งงบประมาณยกเครื่องเส้นทางรถไฟอยู่ที่ 73,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐภายในปี 2030 และที่น่าสนใจคือรัฐบาลอินเดีย ให้ความสำคัญกับการผลักดัน “อุตสาหกรรมรถยนตืไฟฟ้า” อย่างจริงจังโดยเบื้องต้นได้จัดตั้งงบประมาน 1,500 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับรถยนต์ไฟฟ้าเช่นสถานีชาร์จไฟฟ้าและ เทคโนโลยีสำหรับแบตเตอรี่รถยนต์ รวมถึงเตรียมลดภาษีเงินได้ 150,000 รูปี หรือราว 2,185 ดอลลาร์สหรัฐให้กับประชาชนที่ต้องจ่ายดอกเบี้ยเงินกู้เพื่อซื้อนรถยนต์ไฟฟ้า เพื่อกระตุ้นดีมานด์การใช้รถยนต์ไฟฟ้าในประเทศอินเดียมากขึ้น โดยในปี 2017-2018 ยอดจำหน่ายรถยนต์ไฟฟ้าในอินเดีย เฉลี่ยเพียง 2,000 คันต่อปีเท่านั้น “ปุณีต คุปตะ” ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายวิจัยตลาดรถยนต์ บริษัท IHS Markit กล่าวว่า นโยบายสนับสนุนผู้ซื้อรถยนต์ไฟฟ้าของของรัฐบาลอินเดียนั้น จะช่วยสร้างดีมานด์ในตลาดรถยนต์ไฟฟ้าของอินเดียได้ดีขึ้น เพราะปัจจุบันคนอินเดียยังนิยมซื้อรถยนต์ขนาดเล็กที่มีราคาถูกเป็นส่วนใหญ่ โดยปี 2018 ยอดขายรถยนต์ขนาดเล็ก รวมถึงรถ SUV รถบรรทุกขนาดเล็ก และ รถยนต์ส่วนบุคคลมีจำนวนมากกว่า 4 ล้านคัน นอกจากนี้รัฐบาลยังเตรียมที่จะลดภาษีสินค้าและบริการ (GST) ของรถยนต์ไฟฟ้า และเพิ่มภาษีรถยนต์เชื้อเพลิงสันดาป อย่างไรก็ตามเมื่อ สัปดาห์ที่ผ่านมาสมาชิกหลายพันคนของสมาคมรถไฟฟ้าริกชอว์ หรือ รถสามล้อไฟฟ้าได้เข้าเรียกร้องกับรัฐบาลให้ช่วยเหลือในงบประมานการพัฒนารถไฟฟ้าริกชอว์ เพื่อนำมาแทนที่รถสามล้อเครื่องในปัจจุบัน เนื่องจาก รถสามล้อเครื่องนั้นถือเป็นสิ่งที่จำเป็นต่อวิถีการใช้ชีวิตของคนอินเดีย เมื่อปลายปี 2018 กระทรวงคมนาคมขนส่งอินเดีย เปิดเผยว่ารัฐบาลกำลังพิจารณาที่จะห้าม “รถสามล้อเครื่อง” ให้บริการในหลายเมือง ที่ติดโผว่าค่ามลพิษอากาศอยู่ในระดับอันตราย โดยทางการนิวเดลี กล่าวว่าสามล้อเครื่องถือเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทำให้อากาศในหลายเมืองของอินเดียอยู่ในสภาพที่เป็นอันตราย “ราจ เจงกาปา” นักวิเคราะห์ ตลาดรถยนต์ของอินเดีย ทูเดย์มองว่า การกระตุ้นให้เกิดการใช้รถยนต์ไฟฟ้าของ รัฐบาลอาจจะแก้ปัญหามลพิษทางอากาศแต่ไม่แก้ปัญหาการจราจร ซึ่งอินเดียถือเป็นประเทศที่มีการจราจรวุ่นวาย ติดอันดับ 1 ใน 10 ของประเทศ รัฐบาลควรสนับสนุนการพัฒนารถไฟฟ้าริกชอว์มากกว่าการห้ามใช้งาน เพราะ จะทำให้อัตราการว่างงานในอินเดียนั้นเพื่มสูงขึ้น ซึ่งอาจจะกลายเป็นปัญหาเรื้อรังได้
ที่มา : หนังสือพิมพ์ ประชาชาติธุรกิจ ฉบับวันที่ 18 กรกฎาคม 2562
ภายใต้การบริหารประเทศของ “นเรนทรา โมดี” ในสมัยที่2 ยังมุ่งมั่นที่การยกระดับโครงสร้างพื้นฐาน ระบบสาธารณูปโภค การสร้างงาน และเดินหน้าอุตสาหกรรมรถยนต์ไฟฟ้าอย่างจริงจัง เป็นแผนกระตุ้นเศรษฐกิจของอินเดียให้มีมูลค่าสูงถึง 5ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ภายในปี 2025 จากปัจจุบันมูลค่าปัจจุบัน 3ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ เมื่อ 5 ก.ค.ที่ผ่านมา “นีร์มาลา สิทรารามาน” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอินเดีย ได้แถลงงบประมาณ ประจำปี 2019 ต่อรัฐสภา โดยได้จัดตั้งงบประมาณมูลค่าเกือบ 150,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในแผนพัฒนาระยะ 5-10 ปี วึ่งการลงทุนจะครอบคลุมตั้งแต่สนามบิน รถไฟ รวมถึงการสร้างถนนในพื้นที่ห่างไกลเพิ่มอีก 125,000 กิโลเมตร เพื่ออำนวยความสะดวกต่อเกษตรกรสำหรับการนำสินค้าเกษตรออกมาขายในจุดต่างๆทั่วประเทศได้ง่ายขึ้น พร้อมกับแผนการยกระดับคุณภาพ “เส้นทางรถไฟ” เชื่อมต่อด้วยระบบเทคโนโลยีสมัยใหม่ รวมถึงศึกษาขยายเส้นทางรถไฟให้เชื่อมโยงกันทั่วประเทศ โดยได้จัดตั้งงบประมาณยกเครื่องเส้นทางรถไฟอยู่ที่ 73,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐภายในปี 2030 และที่น่าสนใจคือรัฐบาลอินเดีย ให้ความสำคัญกับการผลักดัน “อุตสาหกรรมรถยนตืไฟฟ้า” อย่างจริงจังโดยเบื้องต้นได้จัดตั้งงบประมาน 1,500 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับรถยนต์ไฟฟ้าเช่นสถานีชาร์จไฟฟ้าและ เทคโนโลยีสำหรับแบตเตอรี่รถยนต์ รวมถึงเตรียมลดภาษีเงินได้ 150,000 รูปี หรือราว 2,185 ดอลลาร์สหรัฐให้กับประชาชนที่ต้องจ่ายดอกเบี้ยเงินกู้เพื่อซื้อนรถยนต์ไฟฟ้า เพื่อกระตุ้นดีมานด์การใช้รถยนต์ไฟฟ้าในประเทศอินเดียมากขึ้น โดยในปี 2017-2018 ยอดจำหน่ายรถยนต์ไฟฟ้าในอินเดีย เฉลี่ยเพียง 2,000 คันต่อปีเท่านั้น “ปุณีต คุปตะ” ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายวิจัยตลาดรถยนต์ บริษัท IHS Markit กล่าวว่า นโยบายสนับสนุนผู้ซื้อรถยนต์ไฟฟ้าของของรัฐบาลอินเดียนั้น จะช่วยสร้างดีมานด์ในตลาดรถยนต์ไฟฟ้าของอินเดียได้ดีขึ้น เพราะปัจจุบันคนอินเดียยังนิยมซื้อรถยนต์ขนาดเล็กที่มีราคาถูกเป็นส่วนใหญ่ โดยปี 2018 ยอดขายรถยนต์ขนาดเล็ก รวมถึงรถ SUV รถบรรทุกขนาดเล็ก และ รถยนต์ส่วนบุคคลมีจำนวนมากกว่า 4 ล้านคัน นอกจากนี้รัฐบาลยังเตรียมที่จะลดภาษีสินค้าและบริการ (GST) ของรถยนต์ไฟฟ้า และเพิ่มภาษีรถยนต์เชื้อเพลิงสันดาป อย่างไรก็ตามเมื่อ สัปดาห์ที่ผ่านมาสมาชิกหลายพันคนของสมาคมรถไฟฟ้าริกชอว์ หรือ รถสามล้อไฟฟ้าได้เข้าเรียกร้องกับรัฐบาลให้ช่วยเหลือในงบประมานการพัฒนารถไฟฟ้าริกชอว์ เพื่อนำมาแทนที่รถสามล้อเครื่องในปัจจุบัน เนื่องจาก รถสามล้อเครื่องนั้นถือเป็นสิ่งที่จำเป็นต่อวิถีการใช้ชีวิตของคนอินเดีย เมื่อปลายปี 2018 กระทรวงคมนาคมขนส่งอินเดีย เปิดเผยว่ารัฐบาลกำลังพิจารณาที่จะห้าม “รถสามล้อเครื่อง” ให้บริการในหลายเมือง ที่ติดโผว่าค่ามลพิษอากาศอยู่ในระดับอันตราย โดยทางการนิวเดลี กล่าวว่าสามล้อเครื่องถือเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทำให้อากาศในหลายเมืองของอินเดียอยู่ในสภาพที่เป็นอันตราย “ราจ เจงกาปา” นักวิเคราะห์ ตลาดรถยนต์ของอินเดีย ทูเดย์มองว่า การกระตุ้นให้เกิดการใช้รถยนต์ไฟฟ้าของ รัฐบาลอาจจะแก้ปัญหามลพิษทางอากาศแต่ไม่แก้ปัญหาการจราจร ซึ่งอินเดียถือเป็นประเทศที่มีการจราจรวุ่นวาย ติดอันดับ 1 ใน 10 ของประเทศ รัฐบาลควรสนับสนุนการพัฒนารถไฟฟ้าริกชอว์มากกว่าการห้ามใช้งาน เพราะ จะทำให้อัตราการว่างงานในอินเดียนั้นเพื่มสูงขึ้น ซึ่งอาจจะกลายเป็นปัญหาเรื้อรังได้