สมัครสมาชิกวันนี้

  • Silver
  • สมาชิกระดับ Silver
  • ฟรี
  • สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารขั้นพื้นฐานได้
  • ข้อมูลผู้ประกอบการต่างประเทศ
  • ข้อมูลสถิติในประเทศและต่างประเทศ
  • มาตรการทางการค้าระหว่างประเทศ
  • กฎ ระเบียบ นโยบายในประเทศ
  • เทคโนโลยี และงานวิจัย
  • สมัครสมาชิก

Toyota Motor said Friday it has agreed to develop electric vehicles with BYD, the Chinese leader in that field, aiming to roll out electric sedans and SUVs under the Toyota brand in China during the first half of the 2020s.The tie-up, which includes development of batteries for electrified vehicles, may also lead to joint production as China loosens restrictions on local manufacturing of environmentally friendly autos by foreign companies. For now, the electric vehicles likely will be manufactured at Chinese plants that Toyota already operates with two local partners.Japan's biggest automaker has been forming partnerships to make up for its slow entry into electric vehicles, as Volkswagen and other foreign rivals increasingly focus on EVs.BYD, which started as a battery manufacturer, sold roughly 250,000 electrified autos in 2018. In addition to batteries, the automaker develops motors in-house. It hopes to combine those strengths with Toyota's vehicle design expertise and production technologies.Toyota's partnership with BYD was prompted by China's move to strengthen environmental regulations in the world's largest auto market. Though hybrids may receive more favorable treatment than initially planned under the newest rules, automakers still will be required to manufacture a certain number of electrics.By bolstering its EV business, Toyota also hopes to make strides in the Chinese market, where its presence is weak compared with American and European rivals.Toyota plans to bring a mass-produced electric vehicle to market in 2020, expanding the lineup to 10 or more models in the first half of the 2020s.The automaker's other partnerships in this field include establishing a business in 2017 to develop technologies with companies such as Mazda Motor and components maker Denso. Toyota also intends to develop platforms with Subaru and release models under both of their brands in the first half of the 2020s.Toyota and Suzuki Motor have an EV partnership in India. And Toyota has joined forces with China's CATL as well as compatriots Toshiba and GS Yuasa in automotive batteries.Toyota said last month that it aims to boost sales of electrified vehicles to 5.5 million units in 2025, moving up the target date by five years.

Toyota กับ BYD ร่วมกัน พัฒนายานยนต์ไฟฟ้า

เมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา Toyota ประกาศจับมือกับผู้ผลิตยานยนต์ไฟฟ้า BYD ในประเทศจีน โดยเป้าหมายหลักคือพัฒนารถ Electric sedans และ รถ SUVs ภายใต้แบรนด์โตโยต้า โดยทั้งสองรุ่นเริ่มต้นการผลิตที่โรงงานในจีนเป็นหลัก BYD เริ่มต้นจากการที่พวกเขาเป็นบริษัทผลิตแบตเตอรี่ การร่วมมือกับ โตโยต้าที่เป็นบริษัทชั้นนำในการผลิตยานยนต์ การร่วมมือกันในครั้งนี้น่าจะเป็นการดึงจุดเด่นของทั้งสองบริษัทมาใช้ร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ โตโยต้าหวังว่าการเข้ามาลงทุนในจีนครั้งนี้จะเกิดความก้าวหน้าในตลาดได้ง่ายกว่าการที่ต้องไปต่อสู้ในตลาดอเมริกาหรือยุโรป จากนโยบายของรัฐบาลจีนในเรื่องการผลักดันเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม โดยโตโยต้าวางแผนว่าภายในปี 2020 พวกเขาจะสามารถผลิตรถยนต์พลังไฟฟ้าได้เพิ่มมากขึ้นอีก 10 รุ่น และมีเป้าหมายที่จะทำยอดขายให้มากถึง 5.5 ล้านคัน ภายในปี 2025

ที่มา : https://asia.nikkei.com/Spotlight/Electric-cars-in-China/Toyota-teams-with-BYD-on-electric-cars-for-China

เป็นเวลากว่า2ปีที่รัฐบาลได้จัดตั้งกองทุนสำหรับการผลิตยานยนต์ขับเคลื่อนไฟฟ้าภายในประเทศ โดยโครงการดังกล่าวได้สร้างกว่า 20-30 แอพพลิเคชั่นการลงทุน ซึ่งครอบคลุมไปถึงการประกอบรถยนต์, การผลิตชิ้นส่วนสำคัญ, และ สถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้า คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (Board of Investment : BOI) ได้ขยายแรงจูงใจในการลงทุนสำหรับผู้ร่วมลงทุน โดยจะพิจารณาเป็นพิเศษสำหรับการลงทุนในรถยนต์ Plug-in hybrid EV, รถยนต์แบตเตอรี่ EV, รถบัสไฟฟ้า, และชิ้นส่วนของยานยนต์ไฟฟ้าซึ่งมีมูลค่ากว่า 1.4 พันล้านบาท รวมถึงโครงการสถานีชาร์จไฟสำหรับรถยนต์ไฟฟ้า โดยเลขาธิการ BOI กล่าวว่า ทางสมาคมได้อนุมัติ9โครงการที่เกี่ยวกับรถยนต์ไฟฟ้า ซึ่งมีมูลค่ากว่า 5,100ล้านบาทสำหรับการประกอบรถยนต์ ประกอบด้วย โครงการเกี่ยวกับรถยนต์ hybrid EV 4 โครงการ เกี่ยวกับรถยนต์ Plug-in hybrid EV 4 โครงการ และโครงการแบตเตอรี่ EV 1 โครงการ Toyota และ Honda ได้ทำการเริ่มผลิตไปแล้วในไทย สำหรับโครงการ hybrid EV ในขณะที่ Mercedes Benz และ BMW ยังคงมีความสนใจกับ plug-in hybrid EV แบตเตอรี่ FOMM พร้อมสำหรับจำหน่ายในเชิงพาณิชย์ แต่ยอดขายยังไม่เป็นที่น่าพอใจเนื่องจากความแตกต่างกันของรุ่นแบตเตอรี่ในแต่ละรุ่นของรถยนต์โดยผู้ลงทุนจะต้องส่งหลักฐานการสมัครเข้าร่วมโครงการสำหรับรถยนต์ hybrid ในปี 2019 ในขณะที่การประกอบแบตเตอรี่สำหรับEV ยังคงต้องการเวลาภายในสามปี โดย BOI ต้องการให้ผู้ลงทุนสามารถผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ EV อย่างน้อย 1ชิ้นในปีแรก และเพิ่มขึ้นเป็น 4ชิ้น ในเวลา 3ปี โดยชิ้นส่วนที่จำเป็นได้แก่ แบตเตอรี่, มอเตอร์ลากจูง, หน่วยควบคุมการขับขี่, และ ระบบควบคุมแบตเตอรี่

ที่มา : หนังสือพิมพ์ Bangkok Post ฉบับวันที่ 22 กรกฎาคม 2562

Subaru ranked highest among mass-market brands -- and overall -- in loyalty, while Lexus topped luxury brands in the first J.D. Power U.S. Automotive Brand Loyalty Study released Tuesday.Owners of foreign-brand vehicles were more likely than owners of domestic marques to buy or lease a vehicle of the same brand as they traded in, the study found.Subaru retained 61.5 percent of its owners, followed by Toyota at 59.5 percent and Honda at 57.7 percent. Rounding out the top five mass-market brands were Ram at 56.2 percent and Ford at 54 percent."Subaru meets its owners where they are and provides reliable and affordable transportation," said Tyson Jominy, vice president of data and analytics at J.D. Power. "In many ways, Subaru transcends economics. Celebrities, academics,outdoorsy types, your cousin back East all drive Subaru. But in reality only one Subaru model even starts above $30,000 MSRP -- the recently launched Ascent. The rest are all $27,000 or below."Aside from Ram, Ford and No. 7 Chevrolet, several domestic mass-market brands were toward the middle or bottom of the loyalty rankings, including Buick at 28.3 percent, Dodge at 16.8 percent and Chrysler at 14.4 percent.The study measures whether an owner bought or leased a new vehicle of the same brand as the customer's trade-in. Loyalty is based on the percentage of owners who choose the same brand. The study's calculations are based on transactions from June 2018 through May 2019 and include all model years traded in.

ซูบารุและเลกซัสได้ถูกจัดไว้ในอันดับต้นๆของแบรนด์ที่นิยมในตลาดจากการศึกษาของ J.D.

ซูบารุได้รับการยกระดับให้เป็นแบรนด์ที่นิยมในตลาดและภาพรวม ในขณะที่เลกซัสกลายเป็นรถยนต์แบรนด์หรูระดับต้นๆที่ได้รับการประกาศจัดลำดับเมื่อวันอังคารที่ผ่านมาโดย J.D. Power U.S. Automotive Brand Loyalty Study โดยเจ้าของแบรนด์รถยนต์ต่างชาติจะมีหน้าที่คล้ายกับเจ้าของแบรนด์ในประเทศ ในการขายหรือปล่อยรถยนต์รุ่นใหม่ในแบรนด์เดียวกันที่ขายอยู่โดยซูบารุทำยอดขายได้มากกว่า 61.5เปอร์เซ็นต์ ตามมาด้วยโตโยต้าที่ 59.5เปอร์เซ็นต์ และ ฮอนด้า 57.7เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่อีก 2 ใน 5 แบรนด์ที่ได้รับการจัดอันดับได้แก่ แรม (Ram) มียอดขายอยู่ที่ 56.2เปอร์เซ็นต์ และ ฟอร์ด 54เปอร์เซ็นต์ “ซุบารุถือได้ว่าเป็นแบรนด์ที่ตอบโจทย์ในด้านความไว้วางใจและเป็นระบบขนส่งที่ราคาไม่แพง” ไทสัน โจมินี่ (Tyson Jominy) รองประธานฝ่ายข้อมูลและวิเคราะห์ของ J.D. Power กล่าวว่า “ซูบารุทำได้ดีกว่าในทุกๆทาง เช่น ในแง่ของความได้เปรียบทางเศรษฐศาสตร์, ความโด่งดัง, การศึกษาค้นคว้า, ประเภทภายนอก, ลูกหลานของเราในฝั่งตะวันออกส่วนมากขับขี่รถยนต์ซูบารุ แต่ในความเป็นจริงรถยนต์ซูบารุหนึ่งคันมีราคาเริ่มต้นอยู่ที่ 30,000ดอลล่าร์สหรัฐ ในขณะที่แบรนด์อื่นเริ่มต้นที่ 27,000ดอลลาร์สหรัฐแต่ต่ำกว่านั้น”นอกจากแรม และ ฟอร์ดแล้ว เชฟโรเลตรุ่น No.7 ก็เป็นหนึ่งในแบรนด์ภายในประเทศที่มียอดขายอยู่ในระดับกลางๆของการจัดอันดับ รวมไปถึง บูอิค (Buick), ดอดจ์ (Dodge), และคริสเลอร์ (Crysler) จากการศึกษาพบว่าเจ้าของแบรนด์ส่วนมากมักจะซื้อหรือปล่อยรถยนต์รุ่นใหม่ๆในแบรนด์เดียวกันเพื่อเป็นการจูงใจลูกค้า ความเชื่อมั่นในแบรนด์ขึ้นอยู่กับเปอร์เซ็นต์ของเจ้าของที่เลือกแบรนด์เดียวกัน การคำนวณของแบรนด์มีพื้นฐานจากการทำธุรกรรมที่เกิดขึ้นจากเดือนมิถุนายน 2018 ถึงเดือนพฤษภาคม 2019 รวมถึงรถรุ่นต่างๆที่ขายในปีนั้นด้วย

ที่มา: Automotive News Europe ประจำวันที่ 17 กรกฎาคม 2562