Daimler plans to invest 5 billion yuan ($755 million) in China for factory capacity to manufacture electric cars and the batteries to power them, part of an effort to help its Mercedes-Benz and Smart brands comply with the country's green car production and sales quotas. Hubertus Troska, head of Daimler's greater China operations, told reporters that the investment was part of Daimler's previously announced 10 billion euros ($11.8 billion) global green car initiative. Daimler said in September that it plans to expand its partnership with local automaker BYD to bring new EV models to China. Currently, the partnership produces an electric sedan under the Denza brand in the country. China has set strict quotas for electric and plug-in hybrid cars (New Energy Vehicles) that come into effect from 2019. It has an ambitious target of 2 million NEV sales by 2020 and has signaled longer-term it will phase out the sale of conventional combustion-engine cars. This seismic shift towards NEVs has prompted a flurry of electric car deals and new launches as manufacturers worldwide race for a share of the world's largest auto market.
บริษัทรถยนต์ญี่ปุ่นและยานยนต์พลังงานลูกผสม สบโอกาสรุกตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ประสบปัญหาการจราจรติดขัดอย่างหนัก กระแสตลาดโลกที่เดินหน้ารถยนต์ไฟฟ้าเต็มรูปแบบ สืบเนื่องจากการที่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยังขาดแคลนโครงสร้างพื้นฐานในการประจุพลังงานแบตเตอรีสำหรับรถยนต์ไฟฟ้า ซี่งไม่ใช่ปัญหาสำหรับยานยนต์พลังงานลูกผสม (ไฮบริด) ส่งผลให้บริษัทผลิตรถยนต์ญี่ปุ่น ทั้งโตโยต้า ฮอนด้า และค่ายรถอื่นๆ เล็งใช้โอกาสจากนโยบายส่งเสริมผู้ผลิตยานยนต์ไฮบริดของรัฐบาลไทย เพิ่มศักยภาพการผลิตในประเทศที่ได้ชื่อว่าเป็นดีทรอยต์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียง โตโยต้ามอเตอร์ บริษัทผลิตรถยนต์ที่มียอดขายสูงสุดของไทยมีแผนผลิตรถยนต์เอนกประสงค์ (เอสยูวี) ไฮบริดไซส์กลาง "ซี-เอชอาร์" คาดว่า บริษัทจะแถลงแผนนี้ต่อสื่อมวลชนในงานไทยแลนด์อินเตอร์เนชันแนลมอเตอร์เอ็กซ์โป ที่กรุงเทพฯในวันที่ 29 พ.ย.นี้ ปัจจุบัน รถเอสยูวีได้รับความนิยมอย่างมาก ไม่เว้นแม้แต่ในประเทศตลาดเกิดใหม่ หนุนให้โตโยต้าเลือกผลิตรถซี-เอชอาร์ไฮบริดมากกว่ารุ่นอื่นๆ จากที่เคยผลิตรถรุ่นพริอุสในไทยมาแล้ว แต่สุดท้ายต้องยกเลิกไปเนื่องจากยอดขายไม่ดีนัก นอกจากนี้โตโยต้ายังคงผลิตโตโยต้าคัมรีไฮบริดในไทยเช่นกัน แต่ปีที่แล้วทำยอดขายไปได้เพียง 1,550
ที่มา : หนังสือพิมพ์ กรุงเทพธุรกิจ วันที่ 27 เมษายน 2561
ยานยนต์ไฟฟ้า ส่วนแบ่งของรถยนต์ไฟฟ้าในตลาดยานยนต์ของจีน อเมริกา และสหภาพยุโรป ถูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องใน 20 ปีข้างหน้า การคาดการณ์ของการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าที่มากขึ้นมาจากการที่หลายประเทศได้เริ่มออกนโยบายยับยั้งการใช้รถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์ระบบเผาไหม้ภายใน โดยจะมีผลบังคับใช้ระหว่างปี 2568-2583 ถึงแม้ยอดขายยานยนต์ไฟฟ้าจะคิดเป็นร้อยละ 1 ของยอดขายรถยนต์ในปัจจุบัน แต่ภายในปี 2583 กว่าร้อยละ 50 ของรถใหม่จะเป็นยานยนต์ไฟฟ้า ดังนั้น สัดส่วนของยานยนต์ไฟฟ้าในยานยนต์ขนาดเล็กของทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 1 ในปัจจุบันเป็นร้อยละ 30 ในปี 2583 ซึ่งตรงกับการคาดการณ์ของผู้ผลิตรายใหญ่ต่าง ๆ ที่ได้ตั้งเป้าการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าไว้ที่ 20 ล้านคันต่อปีภายในปี 2568 ไทยมีบทบาทอย่างมากในตลาดยานยนต์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในฐานะผู้ผลิตหลักของเครื่องยนต์ดั้งเดิมต่าง ๆ ผลิตรถยนต์และรถบรรทุกมากกว่า 2.6 ล้านคันในปี 2558 ไทยจำเป็นต้องปรับทิศทางการผลิตยานยนต์ไปในการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ที่เกี่ยวกับยานยนต์ไฟฟ้ามากขึ้น เพราะหากผู้ผลิตยานยนต์เปลี่ยนไปผลิตยานยนต์ไฟฟ้าและไม่เลือกที่จะผลิตยานยนต์ในไทย แรงงานกว่า 650,000 ราย อาจได้รับความเสี่ยง เนื่องจากแรงงานกว่า 450,000 ราย ทำงานกับผู้ผลิตเทียร์ 1 เทียร์ 2 และเทียร์ 3 มีแรงงาน 1 แสนราย ทำงานกับอุตสาหกรรมสนับสนุนต่าง ๆ และอีก 1 แสนราย ทำงานกับโรงงานประกอบรถยนต์