สมัครสมาชิกวันนี้

  • Silver
  • สมาชิกระดับ Silver
  • ฟรี
  • สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารขั้นพื้นฐานได้
  • ข้อมูลผู้ประกอบการต่างประเทศ
  • ข้อมูลสถิติในประเทศและต่างประเทศ
  • มาตรการทางการค้าระหว่างประเทศ
  • กฎ ระเบียบ นโยบายในประเทศ
  • เทคโนโลยี และงานวิจัย
  • สมัครสมาชิก

          Brussels, 17 May 2018 – In April 2018, the EU passenger car market showed a strong return to growth (+9.6%) after demand declined in March – 1,306,273 new cars were registered last month. In April 2018, the EU passenger car market showed a strong return to growth (+9.6%) after demand declined in March – 1,306,273 new cars were registered last month. All five major EU markets saw substantial increases: Spain (+12.3%) and the United Kingdom (+10.4%) recorded the strongest growth, followed by France (+9.0%), Germany (+8.0%) and Italy (+6.5%). From January to April 2018, demand for new cars in the European Union increased by 2.7%, driven by last month’s robust growth. Car registrations went up in Spain (+11.0%), Germany (+5.0%) and France (+4.4%), but demand for new cars contracted in the UK (-8.8%). The new EU member states performed very well so far in 2018, with registrations increasing by 12.5%. Overall, 5,478,442 new passenger cars were registered in the EU during the first four months of the year.
ที่มา : acea.be วันที่ 18  พฤษภาคม 2561

 

            ส่งออกชิ้นส่วนยานยนต์ไทยป่วน หวั่น “อินโดนีเซีย” ออกกฎเพิ่มสัดส่วน local content ผลิตรถยนต์-จักรยานยนต์ ชิ้นส่วนไทยผวาเชื่อถ้าทำจริงกระทบทั้งระบบ “ไทยซัมมิท” หวั่นคู่ค้าหั่นออร์เดอร์ทูตพาณิชย์รายงาน ตามหลัก WTO ไม่น่าทำได้  ดร.สาโรจน์ วสุวานิช รองประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไทยซัมมิท ฮาร์เนส จำกัด ในเครือไทยซัมมิทกรุ๊ป ผู้ผลิตสายไฟรถยนต์สำเร็จรูป กล่าวกับ “ประชาชาติธุรกิจ” ว่า ขณะนี้มีกระแสข่าวรัฐบาลอินโดนีเซียกำลังจะปรับปรุงเงื่อนไขการผลิตรถยนต์และรถจักรยานยนต์ในประเทศใหม่ ด้วยการบังคับให้ผู้ผลิตเพิ่มสัดส่วนการใช้ชิ้นส่วนในประเทศ (local content requirement) มาเป็น 90% โดยนโยบายนี้จะส่งผลกระทบต่อผู้ผลิตชิ้นส่วนในประเทศไทยเป็นจำนวนมาก เนื่องจากชิ้นส่วนทั้งรถยนต์และรถจักรยานยนต์ส่วนใหญ่นำเข้าจากประเทศไทย          “รัฐบาลอินโดนีเซียต้องการเพิ่มการใช้วัตถุดิบในประเทศให้มากขึ้น เพราะปัจจุบันชิ้นส่วนยานยนต์ส่วนใหญ่ต้องนำเข้าไปจากประเทศไทย ส่งเป็น OEM เข้าโรงงานประกอบ รวมถึงชิ้นส่วนประเภทรีเพรซเมนต์หรืออะไหล่ทดแทนด้วย” ดร.สาโรจน์กล่าว

ที่มา:หนังสือพิมพ์ เว็บไซต์ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 17  พฤษภาคม 2561

 

        สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) แนะ BOI ปรับแพ็กเกจรถยนต์ ไฟฟ้า EV-สถานีชาร์จไฟใหม่ หลัง 1 ปี 2 เดือนที่ผ่านมายังไม่มีค่ายรถยนต์รายใดยื่นขอรับการส่งเสริม เหตุ 8 ค่ายรถยนต์หลักมุ่งไปที่รถแบบไฮบริดปลั๊กอินแทน ที่เหลือยังติดโครงการรถยนต์ ecocar การลงทุนโครงการใหม่ต้องรอโครงการเก่าผลิตคุ้มทุนก่อน ยกเว้นค่ายเบนซ์ที่ตั้งโรงงานผลิตแบตเตอรี่แล้ว   นับเป็นเวลามากกว่า 1 ปี 2 เดือนหลังจากที่คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ได้เปิดให้มีการส่งเสริมกิจการผลิตรถยนต์ไฟฟ้า ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ (เดือนมีนาคม 2560) ปรากฏจนกระทั่งถึงขณะนี้ยังไม่มีผู้ประกอบการรายใดได้รับการส่งเสริมการลงทุนในโครงการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ (battery electric vehicle หรือ BEV)          นายศิริรุจ จุลกะรัตน์ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) ในฐานะประธานกรรมการคณะกรรมการสถาบันยานยนต์ กล่าวว่า มาตรการส่งเสริม การลงทุนในกิจการผลิตรถยนต์ไฟฟ้า ชิ้นส่วนและอุปกรณ์กำลังจะสิ้นสุดการเปิดรับคำขอภายในเดือนธันวาคมที่จะถึงนี้ หรือเท่ากับผู้ประกอบการมีระยะเวลาเหลืออยู่เพียง 7 เดือนเท่านั้น โดยที่ผ่านมาผู้ประกอบการจะยื่นคำขอรับส่งเสริมการลงทุนในโครงการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าแบบผสม (hybrid electric vehicle หรือ รถ HEV) กับ โครงการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าแบบผสมเสียบปลั๊ก (plug-in hybrid electric vehicle หรือ รถ PHEV) มากกว่า
ที่มา : หนังสืพิมพ์  ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 16  พฤษภาคม 2561