Volkswagen brand does not expect to have problems with supplies of battery cells for its new wave of full-electric cars. Other automakers, including Audi and Hyundai, have suffered bottlenecks in battery supplies.By 2021, VW Group plans to build 330,000 electric vehicles a year for its VW, Audi and Seat brands at its plant in Zwickau, Germany.The first is the VW ID3, which starts series production later this year after its debut at the Frankfurt auto show in September. The ID3, the first of a new family of purpose-built VW brand EVs, will be delivered to the first customers in mid-2020."I can confirm that for the first years of our plan, a sufficient supply of cells has been contractually secured," said Thomas Ulbrich, VW brand management board member in charge of electric mobility, adding this was the case until 2023. Ulbrich refuted speculation in the German press that VW's current battery cell suppliers may cancel contracts after VW's decision to invest 1 billion euros in a battery cell plant in Salzgitter, Germany, with Swedish partner Northvolt."They probably hoped to maintain an oligopoly for a very long time," Ulbirch said. "We have the contracts so no one is going to stand there and tell us 'we are not going to supply you any more, help yourselves if you want to build them anyway,' -- that’s not possible."VW's electric rollout translates into battery demand of more than 300 gigawatt hours in Europe and Asia alone in the next 10 years, outstripping current market capacities. VW has picked LG Chem, Samsung and SK Innovation as battery suppliers for Europe along with Contemporary Amperex Technology for China. It later added SK Innovation as partner for North America as well, starting in 2022.VW is making changes to its battery-purchasing plan over concerns that supply deal with Samsung, might unravel, Bloomberg reported in May. VW could now only source fewer than 5 gigawatt hours of cells from Samsung SDI rather than the 20 GWh initially planned, sources told Bloomberg.Ulbrich did not deny the Samsung report, saying that the automaker is and will be looking for future supply to cover its growing demand."Our procurement needs continue after that (first wave) however," he told reporters in Berlin."You will likely see us permanently in negotiations for cells for the next three to five years."Supply constraintsReports have suggested that VW Group's Audi brand is having difficulty with production bottlenecks for EV batteries.Audi has revised downward planned production for its first series EV, the e-tron at its Brussels factory, according to a report in the Belgian newspaper L'Echo.Audi planned to build 55,830 e-trons this year but the number has been revised to 45,242, the paper said, citing internal documents.Audi launched sales of the e-tron in Europe in March.In addition Audi has been forced to push back its plans to start production of the e-tron Sportback to 2020 from the end of this year to the start of 2020, L’Echo said. The reason is a shortage of supply of battery cells from LG Chem, a factory insider told the paper.Audi has added Samsung SDI as a battery cell supplier for the e-tron, a company spokesman told Automobilwoche, a sister publication of Automotive News Europe.When Hyundai launched a battery-powered version of its Kona small crossover in Europe last year, the waiting list for the car was up to a year because of a constraints in the availability of the batteries, Lee Ki-sang, head of Hyundai’s eco-technology development center, told ANE in October.VW brand aims to build more than 1 million electric cars a year in factories in Europe, China and the U.S. by 2025.
เรื่อง โฟว์คสวาเก้นประสบปัญหาการจัดหาแบตเตอรี่
โฟว์คสวาเก้นมีการจัดหาผู้ผลิตแบตเตอรี่เพื่อรองรับความต้องการรถยนต์ไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น(1 ล้านสำหรับโรงงานนยุโรปและจีน ในปี 2025) โดยวาง LG Chem, Samsung and SK Innovation ในการผลิตแบตเตอรี่สำหรับผลิตในยุโรป Contemporary Amperex Technology ผลิตในจีน และK Innovation อเมริกาเหนือปัจจุบันออดี้ประสบปัญหาไม่สามารถผลิตรถยนต์ไฟฟ้าได้ตามแผน(แผน 55,830 คัน ผลิตได้ 45,242 คัน) ประกอบกับจะมีการเปิดรถยนต์ไฟฟ้ารุ่นใหม่ e-tron Sportback ออดี้จึงทำการเพิ่มผู้ผลิตแบตเตอรี่จากเดิมมีเพียง LG Chem และจะเพิ่ม Samsung SDI เพื่อให้สามารถผลิตรถยนต์ไฟฟ้าให้ได้ตามแผน ในขณะที่ ฮุ่นได ก็ได้เปิดตัวรถรุ่น Kona เมื่อปีที่แล้ว แต่ก็ได้มีการเลื่อนการส่งมอบเนื่องจากปัญหาด้านการจัดหาแบตเตอรี่
ที่มา : https://europe.autonews.com/automakers/volkswagen-sees-battery-cell-supply-secured-first-wave-evs
นางปวีณา นันทิกุลวาณิช ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด รายงานสถิติการขายรถยนต์รวมทุกประเภทและทุกยี่ห้อในประเทศไทย ประจำเดือน พ.ค. 2562 มียอดขายรวมทั้งสิ้น 88,097 คัน เพิ่มขึ้น 3.7% เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว ประกอบด้วยยอดขายจากตลาดรถยนต์นั่ง 33,580 คัน เพิ่มขึ้น 1.3% และตลาดรถยนต์เพื่อการพานิชย์ 54,517 คัน เพิ่มขึ้น 5.2% ในส่วนของยอดขายรถกระบะขนาด 1 ตัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของตลาดรถเพื่อการพานิชย์มีจำนวน 44,102 คัน เพิ่มขึ้น 8.9% สำหรับยอดขายสะสม 5 เดือนแรกของปีนี้ (ม.ค.-พ.ค. 2562) ตลาดรถยนต์รวมทุกประเภทและทุกยี่ห้อ มีทั้งสิ้น 437,722 คัน เพิ่มขึ้น 9.1% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว ประกอบด้วยยอดขายจากตลาดรถยนต์นั่ง 171,131 คัน เพิ่มขึ้น 11.7% และตลาดรถเพื่อการพานิชย์ 266,591 คัน เพิ่มขึ้น 7.5% สำหรับยอดขายรถกระบะขนาด 1 ตัน มีจำนวน 218,040 คัน เพิ่มขึ้น 10.6%
ที่มา : หนังสือพิมพ์ ไทยรัฐ ฉบับวันที่ 25 มิถุนายน 2562
“ซัมมิท ฮอนด้า” ยกระดับบริการ เปิดตัวเบอร์โทรใหม่ติดต่อทุกโชว์รูม เพิ่มความสะดวกดึงเจ้าของรถเข้าศูนย์ฯ ขยายกลุ่มรถเก่าแลกซื้อรถใหม่ เล็งต่อยอดดึงข้อมูลลูกค้าพัฒนา ดิจิทัลแพลดฟอร์ม นายทวีวัฒน์ ปรุงพัฒนสกุล ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการบริษัท ซัมมิท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จำกัด ภายใต้กลุ่มบริษัท มาสเตอร์ กรุ๊ป คอร์ปอเรชั่น (เอเชีย) จำกัด ตัวแทนจำหน่ายรถยนต์ฮอนด้า เปิดเผยว่าบริษัทเปิดตัวเบอร์โทนใหม่ 1334 สำหรับลูกค้าที่ต้องการติดต่อเพื่อเพิ่มความสะดวกง่ายต่อการจดจำเพราะความสามารถใช้เบอร์เดียวติดต่อได้ทุกแผนกทั้ง 5 สาขา ทั้งในกรุงเทพฯ และหาดใหญ่ โดยเบอร์โทรนี้รองรับได้ 200 คู่สาย ทั้งนี้บริษัท เป็นกลุ่มตัวแทนจำหน่ายฮอนด้าที่เป็นรายใหญ่อันดับที่ 3 โดยปีที่ผ่านมา มียอดขายกว่า 4,000 คัน ปัจจุบัน มีฐานลูกค้ากว่า 7 หมื่นราย และมีรถที่เข้ารับบริการปีละ 6 หมื่นคัน ซึ่งจากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่า จุดอ่อนหนึ่ง คือ การตอบสนองการสื่อสารลูกค้าที่ช้า แต่เมื่อมีเบอร์ใหม่ ทำให้ลูกค้าสามารถใช้เพื่อตอบสอบถามเกี่ยวกับรถรุ่นใหม่ แคมเปญ ติดต่อนัดหมายเข้ารับบริการ ติดตามความคืบหน้า รวมถึงยังติดต่อดูรถสำหรับผู้ที่ต้องการนำรถเก่าแลกซื้อรถใหม่ด้วย “เราเชื่อว่าบริหารใหม่จะทำให้ลูกค้าพึงพอใจ เพราะจำง่าย และสะดวก ไม่ว่าจะเป็นการขอข้อมูลต่างๆ รวมไปถึงการขอความช่วยเหลือเมื่อเกิดปัญหารถเสียและระบบใหม่ยังมีโปรแกรมคอลแบ็ค หากว่าไม่สามารถรับสายได้ก็จะมีการติดต่อกลับอัตโนมัติ”
ที่มา : หนังสือพิมพ์ กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 25 มิถุนายน 2562